Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2704
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorศิริพร สัจจานันท์th_TH
dc.contributor.authorสุคนธ์รัตน์ หินดง, 2524-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-01-16T04:07:18Z-
dc.date.available2023-01-16T04:07:18Z-
dc.date.issued2557-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2704en_US
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ลักษณะทั่วไปของผู้กู้ยืมเงินกองทุน หมู่บ้าน 2) ความโน้มเอียงในการบริโภคของสมาชิกกองทุนหมู่บ้าน 3) ตัวทวีที่ส่งผลต่อการเพิ่มรายได้การศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาทั้งประชากร คือ สมาชิกองทุนหมู่บ้านทั้งหมู่บ้านของบ้านโนนขาม ตำบลดงใหญ่ อำเภอพิมาย จังหวัดนครราชสีมา ที่กู้ยืมเงินกองทุนหมู่บ้าน จำนวน 126 คน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ร้อยละ การวิเคราะห์การถดถอยอย่างง่ายโดยการใช้โปรแกรมสำเร็จรูปผลศึกษาพบว่า 1) ลักษณะทั่วไปผู้กู้ยืมเงินกองทุนหมู่บ้าน ผู้กู้ยืมเงินกองทุนหมู่บ้านส่วนใหญ่เป็นเพศหญิงมากกว่าเพศชาย โดยเป็นเพศหญิง ร้อยละ 66.7 เป็นเพศชาย ร้อยละ 33.3 ส่วนใหญ่มีอายุระหวา่ ง 51 - 60 ปี คิดเป็นร้อยละ 40.50 ส่วนใหญ่จบการศึกษาระดับประถมศึกษาคิดเป็นร้อยละ 74.6 วัตถุประสงค์ของการกู้ยืมเงินกองทุนหมู่บ้าน ส่วนใหญ่นำเงินที่กู้ยืมไปลงทุนปลูกพืช 2) ค่าความโน้มเอียงในการบริโภคของสมาชิกกองทุนหมู่บ้าน ผลการศึกษา ได้ค่าความโน้มเอียงในการบริโภคหน่วยสุดท้าย คือ 0.68 หมายความว่า เมื่อครัวเรือนมีรายได้เพิ่มขึ้น 1 บาท การบริโภคจะเพิ่มขึ้น 0.68 บาท 3) ค่าตัวทวี ผลการศึกษา ได้ค่าตัวทวี คือ 1.47 หมายความว่า เมื่อมีการเพิ่มขึ้นของรายจ่าย 1 บาท จะทำให้ผลผลิตหรือรายได้เพิ่มขึ้น 1.47 เท่าth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกเศรษฐศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectบริโภคกรรม (เศรษฐศาสตร์)th_TH
dc.subjectกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง--สมาชิกth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--เศรษฐศาสตร์th_TH
dc.titleการศึกษาความโน้มเอียงในการบริโภคของสมาชิกกองทุนหมู่บ้านth_TH
dc.title.alternativeStudy on the village fund members' propensity to consumeen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเศรษฐศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were; 1) to study general demographies of village fund borrowers; 2) to explore the village fund members’ propensity to consume ; 3) to estimate the multiplier effect on the increase in income of village fund members of Baan Nonekham, Dong Yai Sub-district, Phimai District, Nakhon Ratchasima Province. This research is a population study, covering all members of the village fund of Baan Nonekham, Dong Yai Sub-district, Phimai District, Nakhon Ratchasima Province who borrowed from the village fund, 126 borrowers in total. Statistics used for data analysis include mean-value, percentage and simple linear regression, and compiled by softwares package. Results showed that: 1) for general demographies of village fund borrowers, majority of those borrowing from the village fund were women rather than men. Female borrowers accounted for 66.7 percent while 33.3 percent were male members. 40.50 percent of the borrowers aged between 51-60 years old. Most borrowers, 74.6 percent, completed an elementary school. The main objective of borrowing from the village fund was for plantation. 2) Value of the propensity to consume (MPC) of village fund members derived from this research was 0.68, which means that when income of the household was increases by 1 Baht, consumption would be increased by 0.68 Baht. 3) Multiplier value based on the study was estimated at 1.47 which meant that an increase of household expenditure of 1 Baht should generate production or income of 1.47 Bahten_US
Appears in Collections:Econ-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
145052.pdfเอกสารฉบับเต็ม1.71 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons