Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2707
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สมบัติ พันธวิศิษฎ์ | th_TH |
dc.contributor.author | สุพรรณี ไชยเลิศ, 2523- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-01-16T06:22:56Z | - |
dc.date.available | 2023-01-16T06:22:56Z | - |
dc.date.issued | 2556 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2707 | en_US |
dc.description.abstract | วัตถุประสงค์ของการศึกษาเพื่อ 1) ศึกษาสภาพทั่วไปทางด้านเศรษฐกิจและสังคมของเกษตรกรเจ้าของสวนยางในเขตพื้นที่จังหวัดพะเยา 2) วิเคราะห์ต้นทุนและผลตอบแทนทางการเงินในการปลูกยางพาราในพื้นที่จังหวัดพะเยา และ 3) วิเคราะห์ความอ่อนไหวของการผลิตยางพาราในเขตพื้นที่จังหวัดพะเยาการศึกษาครั้งนี้ใช้แบบสอบถามแบบมีโครงสร้างประกอบการสัมภาษณ์เป็นเครื่องมือในการเก็บข้อมูลเกษตรกรเจ้าของสวนยางที่จำหน่ายผลผลิตแล้วจำนวน 181 ราย โดยการเลือกแบบเจาะจงและข้อมูลทุติยภูมิของสถาบันวิจัยยาง นำมาวิเคราะห์ต้นทุนและผลตอบแทนของการลงทุน โดยใช้หลักเกณฑ์การตัดสินใจในการลงทุน 3 ตัวชี้วัด คือ มูลค่าปัจจุบันสุทธิ อัตราส่วนผลประโยชน์ต่อต้นทุนและอัตราผลตอบแทนภายในของการลงทุนผลการศึกษาพบว่า 1) เกษตรกรที่ปลูกยางเป็นอาชีพหลักส่วนใหญ่เป็นเพศชายและมีระดับ การศึกษาชั้นประถมศึกษา เป็นเกษตรกรชาวสวนยางรายเล็ก มี พื้นที่ปลูกยาง 1-10 ไร่ และมีประสบการณ์ในการปลูกมาแล้ว 11-15 ปี 2) ต้นทุนและผลตอบแทนทางการเงินในการปลูกยางพาราระยะเวลา 20 ปี โดยแบ่งกลุ่มเกษตรตัวอย่างออกเป็น 4 กลุ่ม คือ สวนยางพาราขนาด 1-10 ไร่ ขนาด 11-20 ไร่ ขนาด 21-30 ไร่ และขนาด 31 ไร่ขึ้นไป พบว่ามีผลตอบแทนคิดเป็นมูลค่าปัจจุบันสุทธิ ณ อัตราคิดลดร้อยละเท่ากับ 94,185.97 95,686.16 97,198.29 และ 98,100.38 บาทต่อไร่ ตามลำดับ อัตราส่วนผลประโยชน์ต่อต้นทุน เท่ากับ 2.51 2.57 2.63 และ 2.67 ตามลำดับ และอัตราผลตอบแทนภายในของการลงทุน เท่ากับร้อยละ 14.69 14.31 14.37 และ 14.35 ตามลำดับ 3) ผลการวิเคราะห์ความอ่อนไหวภายใต้เงื่อนไขการเปลี่ยนแปลงด้านรายรับและ/หรือต้นทุน 3 กรณี คือ กรณีรายรับลดลงร้อยละ 10 กรณีต้นทุนเพิ่มขึ้นร้อย ละ 10 และกรณีรายรับลดลงและต้นทุนเพิ่มขึ้นพร้อมกันร้อยละ 10 พบว่า มูลค่าปัจจุบันสุทธิยังมีค่าเป็นบวก อัตราส่วนผลตอบแทนต่อต้นทุนมีค่ามากกว่าหนึ่ง อัตราผลตอบแทนภายในการลงทุนมีค่าสูงกว่าอัตราดอกเบี้ยที่ีกำหนด การลงทุนผลิตยางพารามีความอ่อนไหวต่อการเปลี่ยนแปลงทั้งทางด้านรายได้และค่าใช้จ่ายอยู่ในระดับความเสียงต่ำ | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาเศรษฐศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | ยางพารา--การปลูก--ต้นทุนและประสิทธิผล | th_TH |
dc.subject | การศึกษาอิสระ--เศรษฐศาสตร์ | th_TH |
dc.title | การวิเคราะห์ต้นทุนและผลตอบแทนการปลูกยางพาราในจังหวัดพะเยา | th_TH |
dc.title.alternative | Cost-benefit analysis of rubber cultivation in Phayao Province | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | เศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this study were to: 1) explore the general socioeconomic characteristics of the owners of para rubber plantations in Phayao Province; 2) examine the economic costs and returns of para rubber cultivation in Phayao Province; and 3) perform sensitivity analysis of investment in para rubber cultivation. The present endeavor used a structured questionnaire as well as interview procedure as the tools to collect the needed information and data from 181 cultivators who are also owners of para rubber lantations with trees already in latex producing stage, and from the Rubber Research Institute. The investigation was focused on the benefit and cost analysis of investment on establishing a para rubber plantation whether or not it is worthwhile based on three criteria for investment decision namely: Net Present Value (NPV); Benefit – Cost ratio (B/C ratio); and Internal Rate of Return to investment (IRR), given 7 % discount rate. The results from the study revealed that: 1) most of the cultivating households under study had male head of the family who completed primary education, and had the ownership of the lands they farmed; 2) the costs and financial returns in the period of 20 years of rubber cultivation by classifying farmers into 4 groups according to their planted areas: 1. -10 rais, 11-20 rais, 21-30 rais, and 31 rais or more were found to have a net present value (NPV) at 94185.97 95686.16 97198.29 98100.38 baht per rai, respectively, the benefit cost ratio (BCR) at 2.51 2.57. 2.63 and 2.67, respectively, and the rate of return on investment (IRR) at 14.69 14.31 14.37 and 14.35 percent, respectively; 3) the sensitivity analysis was performed under 3 scenarios of changes in cost and/or return, in all cases the NPVs were positive, the B/C ratios were greater than 1, and the IRRs were higher than the given discount rates. Consequently, it could be concluded that the investment on para rubber cultivation it was not sensitive to the changes in terms of either income or expense thus representing a low risk and worthwhile investment venture. | en_US |
Appears in Collections: | Econ-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
140171.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 2.44 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License