Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2725
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุชาดา ตั้งทางธรรมth_TH
dc.contributor.authorสุริยะ พุ่มน้อย, 2507-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-01-17T06:21:59Z-
dc.date.available2023-01-17T06:21:59Z-
dc.date.issued2550-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2725en_US
dc.description.abstractการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาถึงปัจจัยในการกำหนดรายได้ภาษีสุรา 2) เพื่อศึกษาผลกระทบจากมาตรการปรับอัตราภาษีสุราของรัฐบาล 3) เพื่อศึกษาผลกระทบจากการใช้มาตรการของรัฐบาลเพื่อจำกัดการบริโภคการศึกษาใช้แบบจำลอง OLS และใช้ข้อมูลทุติยภูมิแบบอนุกรมเวลารายไตรมาสตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2544 ถึง ไตรมาสทสองของปี พ.ศ. 2551 ตัวแปรที่ใซ้ในการศึกษา คือ ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (GDP) ราคาสุราขาว ราคาสุราแม่โขง จำนวนคดี ค่าปรับ มาตรการปรับอัตราภาษีและมาตรการจำกัดการบริโภค ผลการศึกษาพบว่าปัจจัยในการกำหนดรายได้ภาษีสุราคือผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ ราคาสุราขาว ราคาสุราแม่โขง จำนวนคดี ค่าปรับและมาตรการจำกัดการบริโภคโดย มีค่าสัมประสิทธิ์ความยืดหยุ่นเท่ากับ 2.42 -1.30 1.00-0.350.37 และ -0.23 ตามลำดับมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่นร้อยละ 90 ส่วนมาตรการปรับอัตราภาษีไม่มีผลต่อรายได้ภาษีสุรา การศึกษาการปรับอัตราภาษีสุราชองรัฐบาล พบว่าผู้ผลิตและผู้นำเข้าจะผลักภาระภาษี ให้กับผู้บริโภคโดยการปรับเพิ่มราคาขายปลีก มีผลให้ผู้บริโภคลดการบริโภคลงและรัฐมีรายได้ ลดลง แต่จากการศึกษาพบว่ามาตรการปรับอัตราภาษีสุราไม่เป็นปัจจัยในการกำหนดรายได้ภาษีสุรา เนื่องจากผู้บริโภคเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคโดยทดแทนการบริโภคสุราประเภทหรือชนิดอื่นที่มี คุณภาพลดลงหรือใกล้เคียงกัน หรือบริโภคสุราหนีภาษีและสุราเถื่อน อีกตั้งผู้ได้รับอนุญาตทำสุราและนำเข้าสุราใช้กลยุทธ์ทางราคาในการแข่งขันทางธุรกิจโดยไม่ผลักภาระภาษีให้กับผู้บริภค แต่ ยอมรับภาระภาษีไว้เองและยังมีการปรับลดราคาลงอีกด้วย เพื่อเป็นการรักษาส่วนแบ่งทางการตลาดไว้การศึกษาการใช้มาตรการของรัฐบาลเพื่อจำกัดการบริโภค พบว่าเป็นการควบคุมการบริโภคภายในกลุ่มของเยาวชนอายุต่ำกว่า 18 ปี และในกลุ่มผู้เดินทางใช้รถสัญจร ที่มีผลกระทบทำให้รายได้ภาษีสุราลดลง เพราะผลจากมาตรการที่ทำให้หาซื้อสุราได้ยากขึ้น และนอกจากนี้ยังมีบทลงโทษที่กำหนดไว้ชัดเจนอีกด้วยth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาเศรษฐศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--เศรษฐศาสตร์th_TH
dc.subjectภาษีสุราth_TH
dc.titleการศึกษาปัจจัยในการกำหนดรายได้ภาษีสุราth_TH
dc.title.alternativeStudy of factors determining the liquor taxen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเศรษฐศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
Appears in Collections:Econ-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
122325.pdfเอกสารฉบับเต็ม2.45 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons