Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/273
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorปธาน สุวรรณมงคลth_TH
dc.contributor.authorกรรณิการ์ ฤกษ์อุโฆษ, 2512-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-06T03:27:36Z-
dc.date.available2022-08-06T03:27:36Z-
dc.date.issued2558-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/273-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ร.ม. (การเมืองการปกครองท้องถิ่น))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2558th_TH
dc.description.abstractงานวิจัยฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) การดำเป็นการเปรียบเทียบบทบาทของสภาองค์กรชุมชนตำบลบัานกุม อำเภอบางบาล กับสภาองค์กรชุมชนตำบลชายนา อำเภอเสนา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา (2) ปัญหาอุปสรรค การดำเนินการบทบาทของสภาองค์กรชุมชนตำบลบ้านคุ่ม อำเภอบางบาล กับสภาองค์กรชุมชนตำบลชายนา อำเภอ เสนา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา (3) เพื่อเสนอแนะแนวทางแก้ไขปัญหาอุปสรรคบทบาทของสภาองค์กรชุมชน ตำบลป้านคุ่ม อำเภอบางบาล กับสภาองค์กรชุมชนตำบลชายนา อำเภอเสนา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา งานวิจัยฉบับนี้เป็นการวิชัยเชิงคุณภาพโดยวิธีการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงพรรณนาโดยนำข้อมูลที่ได้จาก การค้นคว้าจากเอกสาร และการสัมภาษณ์กลุ่มประชากรตัวอย่างในพื้นที่ตำบลบ้านคุ่ม อำเภอบางบาล จำนวน 10 คน และพื้นที่ตำบลชายนา อำเภอเสนา จำนวน 10 คน รวมทั้งสิ้น จำนวน 20 คน ผลการศึกษาเปรยบเทียบพบว่า บทบาทของสภาองค์กรชุมชนตำบลบ้านคุ่ม อำเภอบางบาลและบทบาทของสภาองค์กรชุมชนตำบลชายนา อำเภอเสนา มีความเหมือนกัน 1 ประเด็น คือ ด้านการมีส่วนร่วมเสนอแนะแก้ไขปัญหาในการจัดทำแผนพัฒนาชุมชน และส่วนที่แตกต่างกันมี 4 ประเด็น คือ 1) ด้านการส่งเสรีมสนับสนุนการอนุรักษ์ฟื้นฟูจารีตประเพณี และภูมิปัญญาท้องถิ่น 2) ด้านการบำรุงรักษา และการใชัประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติชุมชนอย่างยั่งยืน 3) ด้านการจัดให้มีเวทีปรึกษาหารือกันของประชาชน 4) ด้านการ ส่งเสริมสนับสนุนให้องค์กรชุมชนในตำบลเกิดความเข้มแข็ง และพี่งพาตนเองได้อย่างยั่งยืน ปัญหาอุปสรรคบทบาทของสภาองค์กรชุมชนตำบลบ้านคุ่ม อำเภอบางบาล คือ องค์กรปกครองส่วนป้องกัน (เทศบาลตำบลบางบาล) ไม่บรรจุแผนพัฒนาชุมชนไวัไนแผนประจำปีของเทศบาล ประชาชนในชุมชนบางส่วนขาดการมีส่วนร่วมในกิจกรรมของชุมชน และปัญหาอุปสรรคของสภาองค์กรชุมชนตำบลชายนา อำเภอเสนา คอ ความรักความเข้าใจในบทบาทหน้าที่ ตามพระราชบัญญัติสภาองค์กรชุมชน พ.ศ. 2551 ของสมาชิกสภาองค์กรชุมชนตำบลชายนา อำเภอเสนา ยังมีความคลาดเคลื่อน ไม่สามารถนำชุมชนให้เข้ามามีส่วนร่วมในกิจกรรมของสภาองค์กรชุมชนได้พื้นฐานทางสังคม วัฒนธรรม ประเพณีแตกด่างกันตามหลักศาสนาทำให้การกำหนดแผนการพัฒนาไม่สอดคล้องกัน และให้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น นักปกครองท้องที่ และได้นำองค์กรชุมชนมีความข้ดแยังส่วนตัวไม่ลงรอยกันไม่สามารถแก้ไขปัญหา และไม่สามารถนำประชาชนมาให้ความร่วมมือกับชุมชนได้ข้อเสนอแนะได้แก่ การส่งเสริมศักยภาพให้กบผู้นำองค์กรชุมชน รวมทั้งบุคลากรที่เข้ามาเป็นสมาชิก ได้มีความรู้เชิงวิชาการ เพื่อให้สามารถขับเคลี่อนกิจกรรมของสภาองค์กรชุมชนตำบลได้อย่างเข้มแข็งภาครัฐอาจมีการส่งเสริมสนับสนุนงบประมาณมีการฝึกอบรมรวมถึงการนำภาคเอกชนเข้ามาร่วมส่งเสริมสนับสนุนกิจกรรมth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2015.45-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกการเมืองการปกครอง --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชารัฐศาสตร์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectสภาองค์กรชุมชนตำบลชายนา อำเภอเสนา จังหวัดพระนครศรีอยุธยาth_TH
dc.subjectสภาองค์กรชุมชน--การบริหารth_TH
dc.titleการศึกษาเปรียบเทียบบทบาทของสภาองค์กรชุมชน : กรณีศึกษาสภาองค์กรชุมชน ตำบลบ้านกุ่ม อำเภอบางบาล กับสภาองค์กรชุมชนตำบลชายนา อำเภอเสนา จังหวัดพระนครศรีอยุธยาth_TH
dc.title.alternativeA comparative study of community organization councils : a case study of Ban Kum sub district community organization council, Bang Ban District, and Chai Na Sub district community organization council, Sena District, Phra Nakhon Si Ayutthaya Provinceen_US
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2015.45-
dc.degree.nameรัฐศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชารัฐศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis study aims to: (1) Conduct a comparison of the roles of Ban Kum Sub district Community Organization Council, Bang Ban District, and Chai Na Sub district Community Organization Council, Sena District, Phra Nakhon Si Ayutthaya Province; (2) Problems and issues in the roles of Ban Kum Sub district Community Organization Council, Bang Ban District, and Chai Na Sub district Community Organization Council, Sena District, Phra Nakhon Si Ayutthaya Province; (3) Suggest solutions to the problems and issues in the roles of Ban Kum Sub district Community Organization Council, Bang Ban District, and Chai Na Sub district Community Organization Council, Sena District, Phra Nakhon Si Ayutthaya Province. This study is a qualitative research conducted with descriptive analysis of the data from documentary research and interviews of 10 samples in Ban Kum Sub district, Bang Ban District, and 10 samples in Chai Na Sub district, Sena District, thus 20 samples in total. The comparative study shows that: The roles of Ban Kum Sub district Community Organization Council, Bang Ban District, and Chai Na Sub district Community Organization Council, Sena District share a similarity in the aspect of participation in problem-solving and development planning. The differences are found in 4 aspects including: 1) Cultures and local wisdom conservation encouragement; 2) Sustainable natural resource management; 3) Providing facilities for public conferences; 4) Encouragement for strong and sustainable self-dependence; The problems and issues found in the role of Ban Kum Sub district Community Organization Council, Bang Ban District are: The Local Government (Bang Ban Municipality) does not include community development plans in the Municipality’s annual plan; Some citizens in the community lack participation in the community’s activities. The problems and issues found in Chai Na Sub district Community Organization Council, Sena District are: There is some misunderstanding among the Council members about the roles of the Council according to the Community Organization Council Act BE2551; Inability to involve the community into the Council’s activities; Conflicts in development planning due to the variety of demographics such as cultures and religions; Local leaders and authority have personal matters, causing difficulties in problem-solving and co-operation in the community; Suggestions are that there should be performance boost for community leaders as well as the members of the Councils to be academically educated, thus able to steadily organize the Community Organization Council’s activities. The Government may encourage by providing funds for training programs as well as involve public sector into these activities.en_US
dc.contributor.coadvisorธนศักดิ์ สายจำปาth_TH
Appears in Collections:Pol-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
151066.pdfเอกสารฉบับเต็ม24.51 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons