Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2742
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorส่งเสริม หอมกลิ่น, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorประทักษ์ เพชรวารินทร์-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.date.accessioned2023-01-18T03:34:34Z-
dc.date.available2023-01-18T03:34:34Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2742-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ปัจจัยส่วนบุคคลของสมาชิกสหกรณ์ออมทรัพย์ ตํารวจสุราษฎร์ธานี จํากัด 2) ระดับความเชื่อมั่นของสมาชิกในการบริหารจัดการของสหกรณ์ออมทรัพย์ ตํารวจสุราษฎร์ธานี จํากัด และ 3) เปรียบเทียบปัจจัยส่วนบุคคลของสมาชิกกับความเชื่อมันของสมาชิก ในการบริหารจัดการของสหกรณ์ออมทรัพย์ตํารวจสุราษฎร์ธานี จํากัด ประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ คือ สมาชิกสหกรณ์ออมทรัพย์ตํารวจสุราษฎร์ธานี จํากัด โดยศึกษาจากกลุ่มตัวอย่างจํานวน 362 คน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาคือ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ใน การวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติทดสอบที เอฟ และ เซฟเฟ่ ผลการศึกษาพบว่า 1) สมาชิกสหกรณ์ส่วนใหญ่เพศชาย อายุ 41- 51 ปี สถานภาพสมรส ระดับการศึกษาปริญญาตรี รายได้ต่อเดือน 20,001- 30,000 บาท ระยะเวลาการเป็นสมาชิก 11-20 ปี 2) ระดับความเชื่อมั่นของสมาชิกในการบริหารจัดการของสหกรณ์ออมทรัพย์ตํารวจสุราษฎร์ธานีจํากัด โดยรวมมีความเชื่อมั่นในระดับมากทุกด้าน โดยด้านการบริหารจัดการองค์กรมีระดับความเชื่อมั่นสูง ที่สุด รองลงมา ด้านคุณสมบัติคณะกรรมการดําเนินการ ด้านภาพลักษณ์ ชื่อเสียง ความมั่นคง ความ ปลอดภัย อาคารสถานที่วัสดุอุปกรณ์ ด้านการให้บริการข้อมูลข่าวสารและสวัสดิการ และด้านคุณสมบัติ และการปฏิบัติงานของฝ่ายจัดการ ตามลําดับ 3 ) ปัจจัยส่วนบุคคลกับ ความเชื่อมั่นของสมาชิกในการ บริหารจัดการของสหกรณ์ออมทรัพย์ตํารวจ สุราษฎร์ธานีจํากัด พบว่า ปัจจัยส่วนบุคคลของสมาชิกทุก ปัจจัยได้แก่ เพศ อายุ ระดับการศึกษา สถานภาพ รายได้ต่อเดือน และระยะเวลาการเป็นสมาชิก ที่แตกต่าง กันมีความเชื่อมั่นต่อการบริหารจัดการสหกรณ์ด้านต่างๆ แตกต่างกันอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติยกเว้น สมาชิกที่มีเพศต่างกันมีความเชื่อมั่นด้านคุณสมบัติและการปฏิบัติงานของฝ่ายจัดการ ไม่แตกต่างกัน สมาชิกที่มีอายุต่างกันมีความเชื่อมั่นด้านภาพลักษณ์ สมาชิกที่มีสถานภาพต่างกันมีความเชื่อมั่นด้านการบริหารจัดการองค์กรไม่แตกต่างกัน และสมาชิกที่มีระยะเวลาการเป็นสมาชิกต่างกันมีความเชื่อมั่นด้านคุณสมบัติคณะกรรมการดําเนินการไม่แตกต่างกัน อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสหกรณ์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectความเชื่อมั่นth_TH
dc.subjectสหกรณ์--การบริหารth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--สหกรณ์th_TH
dc.titleความเชื่อมั่นของสมาชิกในการบริหารจัดการของสหกรณ์ออมทรัพย์ตำรวจสุราษฎร์ธานี จำกัด จังหวัดสุราษฎร์ธานีth_TH
dc.title.alternativeMembers' confidence in the management of Surat Thani Police Savings and Credit Cooperative, Ltd., Surat Thani Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (สหกรณ์)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to study: 1) the personal factors of members of Surat Thani Police Savings and Credit Cooperative, Limited; 2) their level of confidence in the cooperative’s management; and 3) the relationships between members’ personal factors and their confidence in the cooperative’s management. The sample population consisted of 362 members of Surat Thani Police Savings and Credit Cooperative, Ltd. Data were collected using a questionnaire and analyzed using frequency, percentage, mean, standard deviation, t-test, F-test and Scheffe’s test. The results showed that 1) Most of the sample members were male, age 41-51, married, and educated to bachelor’s degree level. Most made income of 20,001-30,000 baht a month and had been a member of the cooperative for 11-20 years. 2) Overall, the sample members had a high level of confidence in every aspect of the cooperative’s management. They gave the highest mean score for organizational management, followed by qualifications of the members of the board of directors, the cooperative’s reputation and image, its stability and safety, the building and grounds, materials and equipment, services, news and information, benefits, and qualifications and operations of managers, in that order. 3) Statistically significant relationships were found between all the members’ personal factors (sex, age, educational level, marital status, income and number of years of membership) and confidence in every aspect of the cooperative’s management, with the following exceptions: sex was not related to confidence in qualifications and operations of managers; age was not related to confidence in the cooperative’s reputation, image, stability, safety, buildings and grounds and materials and equipment; marital status was not related to confidence in organizational management; and number of years of membership was not related to confidence in qualifications of the members of the board of directorsen_US
Appears in Collections:Agri-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
148062.pdfเอกสารฉบับเต็ม10.96 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons