Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2745
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorส่งเสริม หอมกลิ่น, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorประภัสสร เจริญยิ่ง-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาส่งเสริมการเกษตรและสหกรณ์th_TH
dc.date.accessioned2023-01-18T03:46:36Z-
dc.date.available2023-01-18T03:46:36Z-
dc.date.issued2553-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2745-
dc.description.abstractการวิจัย เรื่องการวิเคราะห์ต้นทุนและผลตอบแทนในการทำนาเกลือของสมาชิกสหกรณ์ ชาวนาเกลือบ้านแหลม จำกัด จังหวัดเพชรบุรี วัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสภาพทั่วไปของสมาชิก 2) ศึกษา สภาพการผลิตและการตลาดเกลือทะเล 3) วิเคราะห์ต้นทุนและผลตอบแทนในการผลิตเกลือทะเล การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพโดยใช้ข้อมูลปฐมภูมิจากแบบ สัมภาษณ์สมาชิกและข้อมูลทุติยภูมิที่ได้จากการรวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ รายงานราคาเกลือทะเล เฉลี่ยจากสำนักงานพานิชย์จังหวัดเพชรบุรี เอกสารต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อวิเคราะห์ต้นทุนและผลตอบแทน ผลการวิจัย พบว่า 1) ด้านสภาพทั่วไปของสมาชิกส่วนใหญ่มีอายุ 41- 50 ปี มีสมาชิกใน ครัวเรือน 1 - 3 คน ส่วนแรงงานในครัวเรือนหัวหน้าครอบครัวจะเป็นผู้ดูแลการผลิตเองทั้งหมดและอาศัย ลูกจ้างประจำ สมาชิกส่วนใหญ่ทำนาเกลือเพียงอย่างเดียวไม่ได้ประกอบอาชีพอื่นควบคู่กับการทำนาเกลือ และไม่คิดจะเปลี่ยนไปทำอาชีพอื่นการถือครองที่ดินสมาชิกส่วนใหญ่จะทำนาเกลือในที่ตนเองและที่เช่า ผสมผสานกัน 2) สภาพการผลิตและการตลาดเกลือทะเลของสมาชิกสหกรณ์ชาวนาเกลือบ้านแหลม จำกัด สมาชิกส่วนใหญ่จะผลิตเกลือคุณภาพปานกลางซึ่งมีต้นทุนการผลิตที่ถูกกว่าการผลิตเกลือคุณภาพสูง ส่วนทางด้านการตลาดสมาชิกส่วนใหญ่จะขายเกลือให้แก่พ่อค้าเกลือที่เป็นโรงงานแปรรูปเกลือ ในพื้นที่ และพ่อค้าคนกลาง จะขายเมื่อมีพ่อค้ามาซื้อและตกลงราคากันได้โดยเก็บเกลือไว้ในยุ้งของตนเอง ส่วน ใหญ่จะเก็บเกลือไว้ในยุ้งของตนเอง 3) ด้านการวิเคราะห์ต้นทุนและผลตอบแทนจากการผลิตเกลือทะเล ของสมาชิก โดยการวิเคราะห์เปรียบเทียบระหว่างสมาชิกรายใหญ่และรายเล็ก สมาชิกรายใหญ่จะมีต้นทุน เฉลี่ยต่อไร่ในการทำนาเกลือสูงกว่าโดยต้องจ้างลูกจ้างประจำมาดูแลแทนเจ้าของส่วนสมาชิกรายเล็กจะ ดูแลเองและใช้แรงงานในครัวเรือนเป็นส่วนใหญ่ สมาชิกรายใหญ่มีต้นทุนโดยค่าเฉลี่ยของสมาชิกไร่ละ 4,959.01 บาท ผลตอบแทน 10,135.93 บาท ได้รับผลตอบแทนต่อต้นทุนเฉลี่ย 2.04 เท่า ส่วนสมาชิกราย เล็กมีต้นทุนโดยค่าเฉลี่ยของสมาชิกไร่ละ 6,144.74 บาท ผลตอบแทน 10,980.59 บาท และจะได้รับ ผลตอบแทนต่อต้นทุนเฉลี่ย 1.78 เท่าth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสหกรณ์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาส่งเสริมการเกษตรและสหกรณ์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectนาเกลือ--ต้นทุนการผลิตth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--สหกรณ์th_TH
dc.titleการวิเคราะห์ต้นทุนและผลตอบแทนในการทำนาเกลือทะเลของสมาชิกสหกรณ์นาเกลือบ้านแหลม จำกัดth_TH
dc.title.alternativeAn analysis of cost and benefit from saline farming of Banlam limitedth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (สหกรณ์)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาส่งเสริมการเกษตรและสหกรณ์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
Appears in Collections:Agri-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
124071.pdfเอกสารฉบับเต็ม9.27 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons