Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2758
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorปริชาต ดิษฐกิจ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorอนุชิดา ร่วมรักษ์, 2515--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.date.accessioned2023-01-19T03:55:08Z-
dc.date.available2023-01-19T03:55:08Z-
dc.date.issued2561-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2758-
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของการใช้สารลีโอนาร์ไดต์ดัดแปลงที่มีผลต่อ 1) การเจริญเติบโต และ 2) ผลผลิตของแตงกวาที่ปลูกในดินเหนียว การวางแผนการทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์ภายในกลุ่ม (Randomized Complete Block Designs, RCBD) มีหน่วยการทดลองคือ ต้น แตงกวาจำนวน 9 ต้น ที่ปลูกในแปลงขนาดกว้าง 2 เมตร × ยาว 1 เมตร จำนวน 3 ซ้ำ ทั้งหมด 12 แปลง จำนวน 4 ทรีตเมนต์ ได้แก่ ทรีตเมนต์ที่่ี 1 คือ ไม่ใช้สารผสมลีโอนาร์ไดต์ดัดแปลง ทรีตเมนต์ที่ 2 คือ ใช้สารผสมลีโอนาร์ไดต์ดัดแปลง อัตรา 2.5 ตันต่อไร่ ทรีตเมนต์ที่่ี 3 คือ ใช้สารผสมลีโอนาร์ไดต์ดัดแปลง อัตรา 5.0 ตันต่อไร่ ทรีตเมนต์ที่ 4 คือ ใช้สารผสมลีโอนาร์ไดต์ดัดแปลง อัตรา 7.5 ตันต่อไร่ วิเคราะห์ความแปรปรวนของข้อมูล และเปรียบเทียบความแตกต่างทางสถิติด้วยวิธี Duncan’s new multiple range test ที่ระดับความเชื่อมั่น 95 เปอร์เซ็นต์ ทำการทดลองที่ตำบลบางเดื่อ อำเภอเมืองปทุมธานี จังหวัดปทุมธานี ผลการทดลองพบว่า 1) การเจริญเติบโตของแตงกวา อายุ 20 วัน หลังหยอดเมล็ด ที่ได้รับสารลีโอนาไดต์ดัดแปลง อัตรา 7.5 ตันต่อไร่ (ทรีตเมนต์ที่ 4) มีเส้นผ่านศูนย์กลางลำต้น เฉลี่ยของแตงกวามากที่สุด เท่ากับ 0.66 มิลลิเมตร และมีจำ นวนใบเฉลี่ย/ต้น มากที่สุด เท่ากับ 5.26 ใบ แตกต่างทางสถิติอย่างมีนัยสำคัญ (p<0.05) กับ ทรีตเมนต์อื่น การเจริญเติบโตของแตงกวา อายุ 30 วัน หลังหยอดเมล็ดที่ได้รับสารลีโอนาไดต์ดัด แปลง อัตรา 7.5 ตันต่อไร่ (ทรีตเมนต์ที่ 4) มีความสูงต้นเฉลี่ยมากที่สุด (p<0.05) เท่ากับ 537.33 เซนติเมตร 2) ผลผลิตของแตงกวาที่ได้รับสารลีโอนาไดต์ดัดแปลง อัตรา 7.5 ตันต่อไร่ (ทรีตเมนต์ที่ 4) แตกต่างทางสถิติอย่างมีนัยสำคัญ (p<0.05) กับ ทรีตเมนต์อื่น โดยมีความกวา้งผลและความยาวผลมากที่สุด เท่ากับ 4.45 และ 12.58 เซนติเมตร ตามลำดับ น้ำหนักผลมากที่สุด เท่ากับ 9.85 กรัม จำนวนผลเฉลี่ยมากที่สุด เท่ากับ 1.80 ผล/ต้น/วัน และมีน้ำหนัก ผลผลิตมากที่สุด เท่ากับ 1,516.55 กรัมต่อตน้th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการจัดการการเกษตร --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectแตงกวา--การปลูกth_TH
dc.subjectดินเหนียวth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--การจัดการการเกษตรth_TH
dc.titleผลของลีโอนาร์ไดต์ดัดแปลงต่อการเจริญเติบโตและผลผลิตของแตงกวาที่ปลูกในดินเหนียวth_TH
dc.title.alternativeEffect of modified leonardite on growth and yield of cucumber (Cucumis sativus L.) growing in clay soilth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (สหกรณ์)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis research had purposes to study the effect of modified leonardite on the growth and yields of cucumbers that were cultivated in clay soil. The experiment was designed using randomized complete block designs. The experimental unit was 9 cucumber plants. The plants were cultivated in 12 growing plots with the dimension of 2 m1 m per 3 plot and 3 replication. There were 4 treatments in the study, which could be described as following. Treatment 1 was cucumber plants cultivated in the plots without modified leonardite. Treatment 2 was cucumber plants cultivated in the plots with modified leonardite at the ratio of 2.5 ton per rai. Treatment 3 was cucumber plants cultivated in the plots with the use of modified leonardite at the ratio of 5.0 ton per rai. Treatment 4 was cucumber plants cultivated in the plots with modified leonardite at the ratio of 7.5 ton per rai. The data were analyzed using one-way ANOVA. The comparison of statistical differences was also conducted using Duncan’s new multiple range test at the confidence level of 95%. The experiment was conducted at Bang Duea Sub district, Mueang Pathum Thani District, Pathum Thani Province. The findings showed that 1) the growth of cucumbers with the age of 20 days after planting the seeds in which received the modified leonardite at 7.5 ton per rai (Treatment 4) resulted in the highest stem diameter of 0.66 mm (p<0.05). The same treated cucumbers also significantly showed the highest leaf number of 5.26 leaves (p<0.05) when compared with other treatments. For cucumbers with the age of 30 days after planting the seeds that received the modified leonardite at 7.5 ton per rai (Treatment 4), it was found that the cucumbers had the highest average height of 537.33 cm (p<0.05). The yields of cucumbers grown in Treatment 4 fruit had the highest width and length of 4.45 and 12.58 cm, respectively. The cucumbers also had the highest fruit weight of 9.85 g., average fruit yield/tree/day was 1.80, and had the highest yield weight per tree of 1,516.55 g (p<0.05).en_US
Appears in Collections:Agri-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT_159602.pdfเอกสารฉบับเต็ม7.96 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons