Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2772
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอนุชา ภูริพันธุ์ภิญโญ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorสิทธิพงศ์ จำปาเกตุ, 2507-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาส่งเสริมการเกษตรและสหกรณ์th_TH
dc.date.accessioned2023-01-23T06:41:03Z-
dc.date.available2023-01-23T06:41:03Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2772-
dc.description.abstractการศึกษาเรื่องการบริหารลูกค้าสัมพันธ์ของสหกรณ์ในพื้นที่จังหวัดมหาสารคาม มีวัตถุประสงค์ 3 ประการ คือ 1) เพื่อศึกษาการบริหารลูกค้าสัมพันธ์ของสหกรณ์ในเขตพื้นที่จังหวัดมหาสารคาม 2) เพื่อศึกษาความคิดเห็นของผู้จัด การสหกรณ์ต่อการบริหารลูกค้าสัมพันธ์ของสหกรณ์ในเขตพื้นที่จังหวัดมหาสารคาม และ 3) เพื่อเปรียบเทียบความคิดเห็นผู้จัดการสหกรณ์เกี่ยวกับการดำเนินงานด้านการบริหารลูกค้าสัม พันธ์ของสหกรณ์ในเขตพื้นที่จังหวัดมหาสารคาม ที่มีความแตกต่างกัน ประเภทสหกรณ์ในภาคการเกษตรและสหกรณ์นอกภาคการเกษตร จำ นวนสมาชิกทุนดำเนินงานหนี้สินและกำไร (ขาดทุน) สุทธิ การศึกษานี้มีกรอบแนวคิดที่ประกอบด้วย 2 ปัจจัย คือ ปัจจัยส่วนบุคคล ได้แก่ เพศ อายุ เพศอายุประสบการณ์ทำงาน และระดับการศึกษา ส่วนปัจจัยสหกรณ์ คือ ประเภทของสหกรณ์ จำนวนสมาชิกจำนวนทุนดำเนินงาน จำนวนหนี้สิน และผลดำเนินงานกำไร (ขาดทุน) สุทธิ กาวิเคราะห์ข้อ มูลจากแบบสอบถามแล้วนำมาแจกแจงหาค่าความถี่ ค่าเฉลี่ย และค่าร้อยละ ผลการศึกษาพบว่า 1) ผู้จัดการสหกรณ์ มีการปฏิบัติเกี่ยวกับ การบริหารลูกค้าสัมพันธ์ด้านการสร้างฐานข้อมูลลูกค้า ส่วนใหญ่อยู่ในระดับ มาก 2) ผู้จัดการสหกรณ์ มีการปฏิบัติเกี่ยวกับการบริหารลูกค้าสัมพันธ์ด้านการใช้เทคโนโลยีที่่ีเหมาะสมเพื่อการวิเคราะห์และแยกแยะสมาชิกส่วนใหญ่อยู่ในระดับมาก 3) ผู้จัดการสหกรณ์ มีการปฏิบัติเกี่ยวกีบการบริหารลูกค้าสัมพันธ์ด้า นการใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมเพื่อการวิเคราะห์และแยกแยะส่วนใหญ่อยู่ในระดับมาก 4) ผู้จัด การสหกรณ์ การปฏิบัติเกี่ยวกับการบริหารลูกค้า สัมพันธ์ด้านการเก็บรักษาลูกค้าระดับมาก 5) ผู้จั ดการสหกรณ์ ผู้จัดการสหกรณ์ที่มีประเภทของสหกรณ์ภาคการเกษตรและนอกภาคการเกษตรจำนวนสมาชิก ทุนดำเนินงานหนี้สินและกำไร (ขาดทุน) สุทธิที่แตกต่างกัน มีการปฏิบัติ เกี่ยวกับการบริหารลูกค้าสัมพันธ์ โดยรวมและเป็นรายด้านไม่แตกต่างกันth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสหกรณ์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาส่งเสริมการเกษตรและสหกรณ์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectความสัมพันธ์กับลูกค้าth_TH
dc.subjectสหกรณ์--บริการลูกค้าth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--สหกรณ์th_TH
dc.titleการบริหารลูกค้าสัมพันธ์ของสหกรณ์ในพื้นที่จังหวัดมหาสารคามth_TH
dc.title.alternativeCustomer relationship management of cooperatives in Maha sarakham Province Areath_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (สหกรณ์)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of studying customer relationship management of the cooperatives in Mahasarakham provincial area were 1) to study customer relationship management of the cooperatives in Mahasarakham provincial area 2) to study cooperative managers’ opinion toward customer relationship management in Mahasarakham provincial area 3) to compare managers’ opinion toward the process of customer relationship management of the cooperatives in Mahasarakham provincial area which differ on classification cooperative in terms of agricultural and non-agricultural cooperative groups , membership, working capital , debt and net profit (loss). Frameworks of study were two factors. First was private factor which included gender, age, work experience and educational background. Second was cooperative factor which contained classification, membership, working capital, debt and business performance, net profit (loss). Questionnaire was used are a tool to collect the data. Statistical methods were percentage, mean and frequency. The results were revealed that 1) the cooperative managers built customer database of customer relationship management in high level. 2) the cooperative managers used an appropriate technology of customer relationship for analysis and classification membership in high level. 3) the cooperative managers used the appropriate technology of customer relationship for analysis and classification membership in high level. 4) the cooperative managers performed customer retention of customer relationship management in high level. 5) the cooperative managers who had different cooperative classification, membership, working capital, debt and overall operation, net profit (loss) did not differ both total and each operation of customer relationship.en_US
Appears in Collections:Agri-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT_128705.pdfเอกสารฉบับเต็ม9.37 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons