กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2772
ชื่อเรื่อง: การบริหารลูกค้าสัมพันธ์ของสหกรณ์ในพื้นที่จังหวัดมหาสารคาม
ชื่อเรื่องอื่นๆ: Customer relationship management of cooperatives in Maha sarakham Province Area
ผู้แต่ง/ผู้ร่วมงาน: อนุชา ภูริพันธุ์ภิญโญ
สิทธิพงศ์ จำปาเกตุ, 2507
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาส่งเสริมการเกษตรและสหกรณ์
คำสำคัญ: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสหกรณ์--การศึกษาเฉพาะกรณี
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาส่งเสริมการเกษตรและสหกรณ์--การศึกษาเฉพาะกรณี
ความสัมพันธ์กับลูกค้า
สหกรณ์--บริการลูกค้า
การศึกษาอิสระ--สหกรณ์
วันที่เผยแพร่: 2554
สำนักพิมพ์: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
บทคัดย่อ: การศึกษาเรื่องการบริหารลูกค้าสัมพันธ์ของสหกรณ์ในพื้นที่จังหวัดมหาสารคาม มีวัตถุประสงค์ 3 ประการ คือ 1) เพื่อศึกษาการบริหารลูกค้าสัมพันธ์ของสหกรณ์ในเขตพื้นที่จังหวัดมหาสารคาม 2) เพื่อศึกษาความคิดเห็นของผู้จัด การสหกรณ์ต่อการบริหารลูกค้าสัมพันธ์ของสหกรณ์ในเขตพื้นที่จังหวัดมหาสารคาม และ 3) เพื่อเปรียบเทียบความคิดเห็นผู้จัดการสหกรณ์เกี่ยวกับการดำเนินงานด้านการบริหารลูกค้าสัม พันธ์ของสหกรณ์ในเขตพื้นที่จังหวัดมหาสารคาม ที่มีความแตกต่างกัน ประเภทสหกรณ์ในภาคการเกษตรและสหกรณ์นอกภาคการเกษตร จำ นวนสมาชิกทุนดำเนินงานหนี้สินและกำไร (ขาดทุน) สุทธิ การศึกษานี้มีกรอบแนวคิดที่ประกอบด้วย 2 ปัจจัย คือ ปัจจัยส่วนบุคคล ได้แก่ เพศ อายุ เพศอายุประสบการณ์ทำงาน และระดับการศึกษา ส่วนปัจจัยสหกรณ์ คือ ประเภทของสหกรณ์ จำนวนสมาชิกจำนวนทุนดำเนินงาน จำนวนหนี้สิน และผลดำเนินงานกำไร (ขาดทุน) สุทธิ กาวิเคราะห์ข้อ มูลจากแบบสอบถามแล้วนำมาแจกแจงหาค่าความถี่ ค่าเฉลี่ย และค่าร้อยละ ผลการศึกษาพบว่า 1) ผู้จัดการสหกรณ์ มีการปฏิบัติเกี่ยวกับ การบริหารลูกค้าสัมพันธ์ด้านการสร้างฐานข้อมูลลูกค้า ส่วนใหญ่อยู่ในระดับ มาก 2) ผู้จัดการสหกรณ์ มีการปฏิบัติเกี่ยวกับการบริหารลูกค้าสัมพันธ์ด้านการใช้เทคโนโลยีที่่ีเหมาะสมเพื่อการวิเคราะห์และแยกแยะสมาชิกส่วนใหญ่อยู่ในระดับมาก 3) ผู้จัดการสหกรณ์ มีการปฏิบัติเกี่ยวกีบการบริหารลูกค้าสัมพันธ์ด้า นการใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมเพื่อการวิเคราะห์และแยกแยะส่วนใหญ่อยู่ในระดับมาก 4) ผู้จัด การสหกรณ์ การปฏิบัติเกี่ยวกับการบริหารลูกค้า สัมพันธ์ด้านการเก็บรักษาลูกค้าระดับมาก 5) ผู้จั ดการสหกรณ์ ผู้จัดการสหกรณ์ที่มีประเภทของสหกรณ์ภาคการเกษตรและนอกภาคการเกษตรจำนวนสมาชิก ทุนดำเนินงานหนี้สินและกำไร (ขาดทุน) สุทธิที่แตกต่างกัน มีการปฏิบัติ เกี่ยวกับการบริหารลูกค้าสัมพันธ์ โดยรวมและเป็นรายด้านไม่แตกต่างกัน
URI: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2772
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:Agri-Independent study

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
FULLTEXT_128705.pdfเอกสารฉบับเต็ม9.37 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการนี้ได้รับอนุญาตภายใต้ Creative Commons License Creative Commons