Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2778
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวลัย อิศรางกูร ณ อยุธยา, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorญาณา วาจนสุนทร, 2530--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-01-23T07:58:14Z-
dc.date.available2023-01-23T07:58:14Z-
dc.date.issued2561-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2778-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสาระประวัติศาสตร์ เรื่อง ความเป็นมาของชาติไทยสมัยก่อนอาณาจักรสุโขทัยจนถึงการเปลี่ยนแปลงการปกครองระหว่างก่อนเรียนและหลังเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4 โรงเรียนกนทรารมณ์ จังหวัดศรีสะเกษ ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบสืบสวนสอบสวน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครูงนี้คือนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4 จำนวน 30 คน ของโรงเรียนกนทรารมณ์ จังหวัดศรีสะเกษ ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2561 ได้มาโดยการสุ่มแบบ กลุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย (1) แผนการจัดการเรียนรู้แบบสืบสวนสอบสวน และ (2) แบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าทีผลการวิจัยปรากฏวาคะแนนเฉลี่ยผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4 โรงเรียนกนทรารมณ์ ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบสืบสวนสอบสวนสูงกว่าคะแนนเฉลี่ยก่อนเรียน อยางมีนัยสำคัญทาง่ สถิติที่ระดับ .01th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาหลักสูตรและการสอน--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectประวัติศาสตร์--กิจกรรมการเรียนการสอนth_TH
dc.subjectผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน--ประวัติศาสตร์th_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--หลักสูตรและการสอนth_TH
dc.titleผลการจัดการเรียนรู้แบบสืบสวนสอบสวนเรื่อง “ความเป็นมาของชาติไทยสมัยก่อนอาณาจักรสุโขทัยจนถึงการเปลี่ยนแปลงการปกครอง” ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนกันทรารมณ์ จังหวัดศรีสะเกษth_TH
dc.title.alternativeThe effect of learning management using the inquiry method in the topic of “ Thai History from the Pre-Sukhothai Period until the Revolution to Change the Government System” on learning achievement of Mathayom Suksa IV students at Kanthararom school in Si Sa Ket Provinceth_TH
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (หลักสูตรและการสอน)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis research aimed to compare the history learning achievements in the topic of “Thai History from the Pre-Sukhothai Period until the Revolution to Change the Government System” of Mathayom Suksa IV students at Kanthararom School in Si Sa Ket province before and after learning under the learning management using the inquiry method. The research sample consisted of 30 Mathayom Suksa IV students of Kanthararom School in Si Sa Ket province during the second semester of the 2018 academic year, obtained by cluster random sampling. The employed research instruments were (1) learning management plans for the learning management using the inquiry method; and (2) a learning achievement test. The data was analyzed using the mean, standard deviation, and t-test. The research results showed that the post-learning achievement mean score of Mathayom Suksa IV students at Kanthararom School who learned under the learning management using the inquiry method was higher than their pre-learning counterpart mean score at the .01 level of statistical significance.en_US
Appears in Collections:Edu-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext_161161.pdfเอกสารฉบับเต็ม15.87 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons