Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2782
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorปกกมล เหล่ารักษาวงษ์th_TH
dc.contributor.authorวราพร ใยบัว, 2520-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-01-23T08:32:26Z-
dc.date.available2023-01-23T08:32:26Z-
dc.date.issued2563-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2782-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ส.ม. (วิทยาศาสตร์สุขภาพ)) -- มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2563th_TH
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยแบบภาคตัดขวาง มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ข้อมูลทั่วไปของบุคลากรด้านสนับสนุนบริการ (2) ระดับความพึงพอใจต่อบรรยากาศองค์กรของการทำงาน (3) ระดับคุณภาพชีวิตการทำงาน และ (4) ปัจจัยที่มีผลต่อคุณภาพชีวิตการทำงานของบุคลากรด้านสนับสนุนบริการในโรงพยาบาลยโสธร ผลการวิจัยพบว่า (1) กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง อายุ 31-40 ปี สถานภาพสมรส ระดับการศึกษามัธยมปลาย/ ปวช. ทำงานในตำแหน่งผู้ช่วยเหลือคนไข้และพนักงานบริการทั่วไป มีอายุงานมากกว่า 5 ปี มีชั่วโมงทำงานไม่เกิน 8 ชั่วโมงต่อวัน มีวันทำงานไม่เกิน 6 วันต่อสัปดาห์ และมีรายได้ต่อเดือนไม่เกิน 15,000 บาท (2) บุคลากรด้านสนับสนุนบริการมีคะแนนความพึงพอใจต่อบรรยากาศองค์กรเฉลี่ย เท่ากับ 48.84 (± 5.75) ซึ่งบุคลากรมีความพึงพอใจต่อบรรยากาศองค์กรอยู่ในระดับมาก (3) บุคลากรด้านสนับสนุนบริการมีคะแนนคุณภาพชีวิตการทำงานเฉลี่ย เท่ากับ 153.53 (± 20.47) ซึ่งบุคลากรด้านสนับสนุนบริการมีคะแนนความพึงพอใจต่อคุณภาพชีวิตการทำงานอยู่ในระดับมาก และ (4) ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับคุณภาพชีวิตการทำงานของบุคลากรด้านสนับสนุนบริการ ได้แก่ ระดับการศึกษา อายุ ชั่วโมงทำงาน รายได้ต่อเดือน ความชัดเจนของเป้าหมายนโยบาย ความรับผิดชอบในงาน การทำงานล่วงเวลา และโครงสร้างองค์กร ซึ่งมีความสัมพันธ์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ตัวแปรดังกล่าวสามารถร่วมกันทำนายต่อคุณภาพชีวิตการทำงานของบุคลากรด้านสนับสนุนบริการได้ร้อยละ 62.10th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสาธารณสุขศาสตร์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectคุณภาพชีวิตการทำงานth_TH
dc.titleปัจจัยที่มีผลต่อคุณภาพชีวิตการทำงานของบุคลากรด้านสนับสนุนบริการในโรงพยาบาลยโสธรth_TH
dc.title.alternativeFactors affecting quality of work life among service support staff at Yasothon Hospitalen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis cross-sectional study aimed to: (1) identify baseline characteristics of service support staff; (2) determine levels of satisfaction with the organizational climate; (3) determine the levels of quality of work life; and (4) identify factors related to quality of work life of service support personnel in Yasothon Hospital. The study involved 154 service support personnel randomly selected from such workers at the hospital. Data were collected using a questionnaire whose reliability value was 0.89 and then analyzed to determine frequency, percent, mean, standard deviation, Pearson correlation coefficient and multiple linear regression. The study found that, among the participants: (1) most of them were married women aged 31–40 years and had completed upper secondary education or equivalent, working as patient support or general service staff with more than 5 years of work experience and a monthly income of not exceeding 15,000 baht; (2) they had a high mean score of satisfaction with organizational climate (48.84 ± 5.75 on a 1–60 scale); (3) their quality of work life was at a high level (mean score 153.53 ± 20.47 on a 1–200 scale); and (4) the factors significantly related to their quality of work life included education, age, working hours, income, policy clarity, job responsibilities, overtime work, and organizational structure (p <0.001); these variables could 62.10% predict the quality of work life.en_US
dc.contributor.coadvisorพาณี สีตกะลินth_TH
Appears in Collections:Health-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT.pdfเอกสารฉบับเต็ม12.4 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons