Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2794
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจิตติมา กันตนามัลลกุ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorกิติภัทท์ สุจิต, 2521--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.date.accessioned2023-01-24T04:11:59Z-
dc.date.available2023-01-24T04:11:59Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2794-
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ข้อมูลพื้นฐานของเกษตรกรและการจัดการฟาร์ม 2) ปัจจัยเสี่ยงการระบาดของโรคพีอาร์อาร์เอสในฟาร์มสุกร และ 3) แนวทางการป้องกันโรคพีอาร์อาร์เอสของฟาร์มสุกรในจังหวัดพิษณุโลก ประชากรในการศึกษา คือ ฟาร์มสุกรในจังหวัดพิษณุโลก จำนวน 865 ฟาร์ม กลุ่มตัวอย่าง คือ ฟาร์มสุกรจำนวน 120 ฟาร์ม โดยการเลือกตัวอย่างแบบเจาะจง เครื่องมือในการวิจัย คือผลการตรวจพบโรคพีอาร์อาร์เอสโดยห้องปฏิบัติการของศูนย์วิจัยและพัฒนาการสัตวแพทย์ ภาคเหนือตอนล่าง และแบบสอบถามวิเ คราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนาและการวิเคราะห์การถดถอยโลจิสติก ผลการศึกษา พบว่า (1) เกษตรกรส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง (64.17%) อายุเฉลี่ย 48.15 ปี ระดับการศึกษาชั้นประถมศึกษา (81.67%) ประสบการณ์การทำฟาร์มสุกรน้อยกว่า 10 ปี (60.00%) การจัดการฟาร์มไม่พิถีพิถันและไม่มีระบบป้องกันโรค (2) ปัจจัยเสี่ยงการระบาดของโรคพีอาร์อาร์เอสในฟาร์มสุกร ได้แก่ เกษตรกรขาดความรู้เรื่องโรค รถรับซื้อขายสุกรเข้า-ออกฟาร์มโดยไม่ผ่านการฆ่าเชื้อ และการใช้พ่อพันธ์ุสุกรจากภายนอกฟาร์ม (p<0.05) และ (3) แนวทางการป้องกันโรคพีอาร์อาร์เอส ของฟาร์มสุกรในจังหวัดพิษณุโลก ได้แก่ การให้ความรู้เกี่ยวกับโรคสุกร วิธีการลึ้ยงที่ดี และวิธีการป้องกันโรคเข้าสู่ฟาร์มth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการจัดการการเกษตร --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectสุกร--โรคth_TH
dc.subjectไวรัสพีอาร์อาร์เอสth_TH
dc.titleปัจจัยเสี่ยงและการป้องกันการระบาดโรคพีอาร์อาร์เอสของฟาร์มสุกรในจังหวัดพิษณุโลกth_TH
dc.title.alternativeRisk factors and prevention for Porcine Respiratory and Reproductive Syndrome outbreak of pig farms in Phitsanulok Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameเกษตรศาสตรมหาบัณฑิต (การจัดการทรัพยากรเกษตร)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis research aimed to study 1) basic information of farmers and pig farm management, 2) risk factors of Porcine Reproductive and Respiratory Syndrome (PRRS) outbreak in pig farms, and 3) a protocol for PRRS prevention of pig farms in Phitsanulok province. The study population was 865 pig farms in Phitsanulok province. A sample group of 120 farms was chosen through the purposive sampling method. Data collection tools were PRRS test results from the laboratory of the Northern Veterinary Research and Development Center, lower zone (Phitsanulok) and questionnaires. The statistics for analysis were descriptive statistics and logistic regression analysis. The results showed that 1) most of farmers were female (64.17%) with average age of 48.15 years. Most had primary school level education (81.67%) and less than 10 years experience (60.00%) in pig farming. Their pig farm management was an extensive system without bio-security. 2) Risk factors of PRRS outbreak were lack of disease knowledge, buyers’ truck driving into and out of the farm without disinfection, and hiring outside boars for breeding (p<0.05). 3) The recommended protocol for prevention of PRRS outbreak in Phitsanulok province was to educate farmers on swine diseases, to implement recommended farm management methods, and to improve bio-security measures.en_US
Appears in Collections:Agri-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT_140227.pdfเอกสารฉบับเต็ม7.69 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons