Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2795
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอัจฉรา ชีวะตระกูลกิจth_TH
dc.contributor.authorสุพิชชา ทิพย์กัณฑ์, 2525-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาส่งเสริมการเกษตรและสหกรณ์th_TH
dc.date.accessioned2023-01-24T05:46:15Z-
dc.date.available2023-01-24T05:46:15Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2795en_US
dc.description.abstractการศึกษาน้ีมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ข้อมูลส่วนบุคคลของผู้นำกลุ่มอาชีพสังกัดสหกรณ์ในจังหวัด เพชรบูรณ์ 2) สภาพทั่วไปของกลุ่มอาชีพสังกัด สหกรณ์ในจังหวัดเพชรบูรณ์ 3) ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการขอรับรองสินค้ามาตรฐานสหกรณ์ในจัง หวัดเพชรบูรณ์ และ 4) ปัญหา อุปสรรค และข้อ เสนอแนะในการขอรับรองสินค้ามาตรฐานสหกรณ์ ประชากรในการศึกษาครั้งนี้ คือ ผู้นำกลุ่มอาชีพสังกัดสหกรณ์ในจังหวัดเพชรบูรณ์ ที่มีสถานะดำเนินการในปี พ.ศ.2556 จำนวน 41 คน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา ได้แก่ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการศึกษาพบว่า 1) ข้อมูลส่วนบุคคลของผู้นำ กลุ่มอาชีพสังกัดสหกรณ์ในจังหวัดเพชรบูรณ์ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง อายุ 51-60 ปี ระดับการศึกษาชั้นประถมศึกษา และมีรายได้ของครอบครัวเฉลี่ยต่อเดือน 10,000 – 15,000 บาท 2) สภาพทั่วไปของกลุ่มอาชีพส่วนใหญ่ผลิตสินค้า ประเภทอาหาร มีที่ตั้งกลุ่มอาชีพในอำเภอชนแดน อำเภอวังโป่ง อำเภอหนองไผ่ อำเภอบึงสามพัน อำเภอวิเชียรบุรี และอำเภอศรีเทพ มีระยะเวลาในการจัด ตั้งกลุ่มอาชีพมากกว่า 10 ปี ขึ้นไป มีจำนวนสมาชิกในกลุ่มอาชีพ 21-30 คน โดยมียอดจำหน่ายสินค้า ของกลุ่มอาชีพต่อปีมากกว่า 200,000 บาทขึ้นไป มาตรฐานสินค้า ที่กลุ่มอาชีพได้รับ คือมาตรฐาน มผช. และกลุ่มอาชีพมีการผลิตสินค้าต่อเนื่องตลอดทั้งปี 3) ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการขอรับรองสินค้ามาตรฐานสหกรณ์ ในภาพรวมทุกปัจจัยมีความเหมาะสมในระดับมากที่สุด โดยปัจจัย 3 อัน ดับแรก ได้แก่ ด้านเจ้าหน้าที่ของสำนักงานสหกรณ์จังหวัดที่เกี่ยวข้องกับการรับรองสินค้ามาตรฐานสหกรณ์ มีความเหมาะสมอยู่นระดับมากที่สุด รองลงมา คือ ด้านเกณฑ์การให้การรับรองสินค้า มาตรฐานสหกรณ์ และด้านเอกสารและหลักฐานในการขอรับรองสินค้ามาตรฐานสหกรณ์ ตามลำดับ 4) ปัญหาและอุปสรรคในการขอรับรองสินค้ามาตรฐานสหกรณ์ที่สำคัญ คือ การประชาสัมพันธ์การขอรับรองสินค้ามาตรฐานสหกรณ์ยังไม่ทั่วถึง และกลุ่มอาชีพไม่ติดสัญลัก ษณ์สินค้ามาตรฐานสหกรณ์ในบรรจุภัณฑ์ของสินค้าที่ได้รับการรับรอง โดยผู้นำกลุ่มอาชีพมีข้อ เสนอแนะว่า กรมส่งเสริมสหกรณ์ควรมีงบประมาณสนับสนุนกลุ่มอาชีพที่ขอรับรองสินค้า มาตรฐานสหกรณ์th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสหกรณ์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาส่งเสริมการเกษตรและสหกรณ์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--สหกรณ์th_TH
dc.subjectสหกรณ์การเกษตร--ไทย--เพชรบูรณ์th_TH
dc.subjectสินค้าเกษตร--มาตรฐาน.--ไทยth_TH
dc.titleการขอรับรองสินค้ามาตรฐานสหกรณ์ของกลุ่มอาชีพสังกัดสหกรณ์ในจังหวัดเพชรบูรณ์th_TH
dc.title.alternativeการขอรับรองสินค้ามาตรฐานสหกรณ์ของกลุ่มอาชีพสังกัดสหกรณ์ในจังหวัดเพชรบูรณ์th_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (สหกรณ์)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to study: 1) demographic data of the leaders of occupational groups under cooperatives in Phetchabun Province; 2) the general conditions of occupational groups under cooperatives in Phetchabun Province; 3) factors associated with the occupational groups’ applications for cooperative product standard certification for their products; and 4) problems with certification applications and suggestions for improvements. The sample population consisted of 41 leaders of occupational groups under cooperatives in Phetchabun Province with operating status as of 2013. Data were collected using a questionnaire and analyzed using frequency, percentage, mean and standard deviation. The results showed that 1) The majority of occupational group leaders were female, aged 51-60, had completed primary education, and had family income of 10,000-15,000 baht a month. 2) Most of the occupational groups produced food products. Most were located in the districts of Chon Daen, Wang Pong, Nong Phai, Bueng Sam Phan, Wichian Buri, and Si Thep and had been in operation for more than 10 years. Most groups had 21-30 members and annual sales income of more than 200,000 baht. Most of their products had passed Thai Industrial Standards Institute (TISI) standards. They were able to continue production throughout the year. 3) Overall, the occupational group leaders rated the factors associated with their applications for cooperatives product standard certification as “very appropriate.” The factors that got the highest scores were provincial cooperatives office personnel, the criteria for product standards, and the application forms and filing procedures, in that order. 4) The main problem with certification applications was a lack of public relations efforts, because information about cooperatives product standard certification was not widespread. Another problem was that some occupational groups who had received certification did not affix the logo on their product packaging. Occupational group leaders suggested that the Cooperatives Promotion Department should provide financial support for occupational groups that want to apply for cooperatives product standard certification.en_US
Appears in Collections:Agri-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT_ 140470.pdfเอกสารฉบับเต็ม9.1 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons