Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2810
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวรรณา บัวเกิด, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorภัททิรา เอี่ยมประโคน, 2530--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-01-25T09:05:33Z-
dc.date.available2023-01-25T09:05:33Z-
dc.date.issued2561-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2810-
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าอิสระครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) สร้างแบบฝึกเพื่อพัฒนาความสามารถในการอ่านจับใจความโดยใช้วิธีการอ่านแบบ SQ4R สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 และ(2) ตรวจสอบคุณภาพของแบบฝึกเพื่อพัฒนาความสามารถในการอ่านจับใจความโดยใช้วิธีการอ่านแบบ SQ4R สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 กลุ่มตัวอย่างสำหรับการตรวจสอบคุณภาพของแบบฝึกเพื่อพัฒนาความสามารถในการอ่านจับใจความโดยใช้วิธีการอ่านแบบ SQ4R ได้แก่ ผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 3 ท่าน และนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนโนนเจริญพิทยาคม จำนวน 10 คน ได้มาจากการเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา ได้แก่ (1) แบบฝึกเพื่อพัฒนาความสามารถในการอ่านจับใจความโดยใช้วิธีการอ่านแบบ SQ4R ที่สร้างขึ้น(2) แบบประเมินคุณภาพแบบฝึกเพื่อพัฒนาความสามารถในการอ่านจับใจความโดยใช้วิธีการอ่านแบบ SQ4R โดยผู้เชี่ยวชาญ และ (3) แบบประเมินความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อแบบฝึกเพื่อพัฒนาความสามารถในการอ่านจับใจความโดยใช้วิธีการอ่านแบบ SQ4R สถิติที่ใช้ในการศึกษา ได้แก่ ค่าดัชนีความสอดคล้อง ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานผลการศึกษามีดังนี้ (1)แบบฝึกเพื่อพัฒนาความสามารถในการอ่านจับใจความโดยใช้วิธีการอ่านแบบ SQ4R ที่สร้างขึ้น ประกอบด้วยเนื้อหาของบทอ่าน จำนวน 4 แบบฝึก ได้แก่ แบบฝึกที่ 1 การอ่านจับใจความงานเขียนประเภทนิทาน แบบฝึกที่ 2 การอ่านจับใจความงานเขียนประเภทบนทึกเหตุการณ์ แบบฝึกที่ 3 การอ่านจับใจความงานเขียนประเภทบทความแบบฝึกที่ 4 การอ่านจับใจความงานเขียนประเภทบทร้อยกร้อง โดยในแต่ละแบบฝึกมีกิจกรรมที่ใช้วิธีการอ่านแบบ SQ4R และมีส่วนเฉลยท้ายแบบฝึก(2) ผลการตรวจสอบคุณภาพของแบบฝึกโดยผู้เชี่ยวชาญ พบว่า แบบฝึกเพื่อพัฒนาความสามารถในการอ่านจับใจความโดยใช้วิธีการอ่านแบบ SQ4R ในภาพรวมมีค่าดัชนีความสอดคล้องระหว่าง 0.67-1.00 และ (3) นักเรียนมีความพึงพอใจต่อแบบฝึกเพื่อพัฒนาความสามารถในการอ่านจับใจความโดยใช้วิธีการอ่านแบบ SQ4R ภาพรวมอยู่ในระดับมากth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาหลักสูตรและการสอน --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectการอ่านขั้นมัธยมศึกษาth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--หลักสูตรและการสอนth_TH
dc.titleการสร้างแบบฝึกเพื่อพัฒนาความสามารถในการอ่านจับใจความโดยใช้วิธีการอ่านแบบ SQ4R สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2th_TH
dc.title.alternativeThe construction of exercises to develop reading comprehension ability using the SQ4R reading method for Mathayom Suksa II studentsth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this study were (1) to construct exercises to develop reading comprehension ability using the SQ4R reading method for Mathayom Suksa II students; and (2) to verify quality of the exercises to develop reading comprehension ability using the SQ4R reading method for Mathayom Suksa II students. The sample for quality verification of the constructed exercises to develop reading comprehension ability using the SQ4R reading method consisted of three experts and 10 Mathayom Suksa II students of Non Charoen Phitthayakom School, all of which were purposively selected. The employed instruments for this study were (1 ) the constructed exercises to develop reading comprehension ability using the SQ4R reading method; (2) a quality assessment form for the exercises to develop reading comprehension ability using the SQ4R reading method for the experts; and (3) a scale to assess student’s satisfaction with the exercises to develop reading comprehension ability using the SQ4R reading method. The data was analyzed by index of itemobjective congruence (IOC), mean, and standard deviation. The study found that (1) 0 the constructed exercises to develop reading comprehension ability using the SQ4R reading method comprised four exercises as follows: the first exercise was on comprehensive reading of tales; the second exercise was on comprehensive reading of records of events; the third exercise was on comprehensive reading of articles; and the fourth exercise was on comprehensive reading of poetry; each exercise contained activities using the SQ4R reading method and answer keys at the end of the exercise; ( 2) results of quality verification of the exercises by the experts showed that the overall IOC indices of the exercises ranged from 0.67 - 1.00; and (3) the students were satisfied with the exercises to develop reading comprehension ability using the SQ4R reading method at the high levelen_US
Appears in Collections:Edu-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext_161171.pdfเอกสารฉบับเต็ม16.25 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons