Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2828
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorลาวัลย์ หอนพรัตน์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorธวัชชัย สุวรรณพานิช, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorอานนท์ จำลองกุล, 2532--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-01-26T06:25:41Z-
dc.date.available2023-01-26T06:25:41Z-
dc.date.issued2559-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2828-
dc.description.abstractการวิจัยเรื่อง นิติพยาธิแพทย์กับการชันสูตรพลิกศพตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณา ความอาญานี้ มีวัตถุประสงค์ พื่อศึกษาแนวคิดทฤษฎีการชันสูตรพลิกศพ กฎหมายชันสูตรพลิกศพ ของประเทศไทยและต่างประเทศที่เกี่ยวข้องกับนิติพยาธิแพทย์ เพื่อนำมาวิเคราะห์ปัญหาและ อุปสรรคในการชันสูตรพลิกศพ อันนำไปสู่ข้อสรุป และการเสนอแนวทางแก้ไขกฎหมายชันสูตรพลิกศพ ของประเทศไทย การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยการรวบรวมและศึกษาจากเอกสาร หนังสือ ตำรา บทความ วิทยานิพนธ์ บทวิเคราะห์ทางกฎหมาย บทบัญญัติกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการ ชันสูตรพลิกศพ ได้แก่ ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา ร่างพระราชบัญญัติว่าด้วยการ ชันสูตรพลิกศพ พ.ศ. .... รวมทั้งสื่ออิเล็กทรอนิกส์ และเอกสารอื่น ๆ ทั้งภาษาไทยและต่างประเทศ ผลการวิจัยพบว่า ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา และร่างพระราชบัญญัติว่า ด้วยการชันสูตรพลิกศพ พ.ศ. .... ยังขาดความเหมาะสม เมื่อทำการศึกษาเปรียบเทียบแนวคิดทฤษฎี และกฎหมายชันสูตรพลิกศพของต่างประเทศ ได้แก่ รัฐแมสซาชูเซตส์ ประเทศสหรัฐอเมริกา ประเทศอังกฤษ และประเทศญี่ปุ่น พบว่ากฎหมายชันสูตรพลิกศพของประเทศไทยควรปรับปรุง เนื้อหาในส่วนของการกำหนดหลักเกณฑ์ที่ต้องชันสูตรพลิกศพ การลดความเหลื่อมล้ำระหว่าง องค์กรวิชาชีพที่ทำหน้าที่ชันสูตรพลิกศพ การกำหนดเงื่อนไขที่เป็นธรรมแก่แพทย์ผู้ปฏิบัติงาน ชันสูตรพลิกศพ การกำหนดบทบัญญัติให้ครอบคลุมถึงผู้ปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องทั้งหมดกำหนดหลักเกณฑ์การบริหารจัดการองค์กรชันสูตรพลิกศพ การสร้างระบบตรวจสอบถ่วงดุลอำนาจ และการตรวจสอบความพร้อมของบุคลากรฝ่ายต่าง ๆ ก่อนที่ร่างพระราชบัญญัติว่าด้วยการชันสูตรพลิกศพ พ.ศ. .... จะได้รับการตราเป็นกฎหมายต่อไปth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2016.58en_US
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายอาญาและกระบวนการยุติธรรม -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectการตรวจศพ -- กฎหมายและระเบียบข้อบังคับ -- ไทยth_TH
dc.titleนิติพยาธิแพทย์กับการชันสูตรพลิกศพตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาth_TH
dc.title.alternativeForensic pathologists in medicolegal autopsy according to the criminal procedure codeth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2016.58en_US
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research on “Forensic Pathologists in Medicolegal Autopsy according to The Criminal Procedure Code” are; to study concepts and theories about Medicolegal Autopsy, to study Thai and foreign Autopsy laws related to Forensic Pathologists, to analyze problems and obstacles in Medicolegal Autopsy, and leading to conclusions and revisions the Autopsy laws of Thailand. This research is qualitative research by collecting and studying data from documents, books, textbooks, legal articles, theses, legal analyses, legal provisions related to Medicolegal Autopsy, namely Criminal Procedure Code, Draft of Autopsies Act B.E. …., electronic media and other documents including both of Thai and foreign languages. The research found that Criminal Procedure Code and Draft of Autopsies Act B.E. …. are still inappropriate comparing to theoretical concepts and foreign autopsy laws including the state of Massachusetts - USA, England, and Japan. There is found that Thai Autopsy laws should improve the contents about the guideline for post-mortem examinations, reducing disparity between professional organizations performing Autopsy, determining fair conditions for medical examiners, determining legal provisions covering all relevant practitioners, established criteria for Autopsy organization management, creating checks and balances system, and checking availability of various personnel before the Draft of Autopsies Act B.E. …. will be promulgateden_US
Appears in Collections:Law-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
153684.pdfเอกสารฉบับเต็ม2.4 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons