Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/282
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สมใจ พุทธาพิทักษ์ผล, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.advisor | พัชราพร เกิดมงคล, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.author | วราภรณ์ วงษ์ประพันธ์, 2512- | - |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2022-08-06T05:17:02Z | - |
dc.date.available | 2022-08-06T05:17:02Z | - |
dc.date.issued | 2557 | - |
dc.identifier.uri | http://ir.stou.ac.th/handle/123456789/282 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (พย.ม. (การบริหารการพยาบาล))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2557 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยเชิงบรรยายนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) การรับรู้อุปสรรคและปัจจัยเอื้ออำนวยต่อการนำผลการพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่องไปใช้ของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลชุมชน จังหวัดนครราชสีมา 2) เปรียบเทียบการรับรู้อุปสรรคในการนำผลการพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่องไปใช้ของพยาบาลวิชาชีพที่มีประสบการณ์การทำงาน ตำแหน่งงานที่รับผิดชอบ ระดับความเข้ำใจเกี่ยวกับการพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง ขนาดของโรงพยาบาล และผลการรับรองคุณภาพโรงพยาบาลที่แตกต่างกัน กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ พยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานในกลุ่มงานการพยาบาลโรงพยาบาลชุมชน จังหวัด นครราชสีมา จำนวน 323 คน คัดเลือกโดยการสุ่มแบบแบ่งชั้นภูมิ ตามขนาดโรงพยาบาล และผลการรับรอง คุณภาพโรงพยาบาล เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามประกอบด้วย 3 ส่วน ได้แก่ 1) ข้อมูลส่วนบุคคล 2) การรับรู้ อุปสรรคในการนำผลการพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่องไปใช้ เป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า 4 ระดับ จำนวน 20 ข้อ ประเมิน 4 ด้านคือ ด้านพยาบาล องค์กร คุณลักษณะของการพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่องและด้านการสื่อสาร และ 3) การรับรู้ปัจจัยเอื้ออำนวยต่อการนำผลการพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่องไปใช้เป็นแบบเลือกตอบ 9 ข้อ ตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหาโดยผู้ทรงคุณวุฒิ 5 ท่าน ได้ค่าดัชนีความตรงตามเนื้อหาของแบบสอบถามส่วนที่ 2 และ 3 เท่กับ 0.96 และ 0.97 ตามลำดับ ความเที่ยงของแบบสอบถามส่วนที่ 2 เท่ำกับ 0.84วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา กสรทดสอบแมนวิทเนย์ และการทดสอบครัสคาลและวัลลิส ผลการวิจัยพบว่า 1) พยาบาลวิชาชีพรับรู้อุปสรรคในการนำผลการพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่องไปใช้ อยู่ในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณารายด้าน พบว่า ด้านการสื่อสารมีค่าเฉลี่ยสูงสุด รองลงมาได้แก่ด้าน องค์กรด้านคุณลักษณะของการพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง และด้านพยาบาล) ตามลำดับ สำหรับปัจจัยเอื้ออำนวย ต่อการนำผลการพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่องไปใช้ที่พยาบาลวิชำชีพรับรู้ 3 อันดับแรก ได้แก่ หน่วยงานให้ ความสำคัญในการนำการพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่องไปใช้ในการพัฒนางานมากที่สุด (90.70%) รองลงมาคือ มีการเพิ่มพูนความรู้และความสามารถในการจัดทำและนำการพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่องมาใช้ในการพัฒนางาน (84.50 %) และกำหนดให้การพัฒนำคุณภาพอย่างต่อเนื่องเป็นส่วนหนึ่งของการปฏิบัติงาน (82.70 %) 2) พยาบาลวิชาชีพที่มีตำแหน่งงำนที่รับผิดชอบ ระดับความเข้ำใจเกี่ยวกับกำรพัฒนาคุณภำพอย่างต่อเนื่อง ขนาดของโรงพยาบาล และผลการรับรองคุณภาพโรงพยาบาลตามมาตรฐาน HA ที่แตกต่างกัน มีการรับรู้อุปสรรคต่อการนำผลการพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่องไปใช้แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ส่วนประสบการณ์การทำงานไม่มีผลต่อการรับรู้อุปสรรคในการนำผลการพัฒนาคุณภาพอย่างต่อ เนื่องไปใช้ (p> 0.05) | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language | th | th_TH |
dc.language.iso | other | th_TH |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.relation.uri | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2014.217 | en_US |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ --วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการบริหารการพยาบาล --วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | โรงพยาบาลชุมชน--ไทย--นครราชสีมา | th_TH |
dc.subject | บริการการพยาบาล--การควบคุมคุณภาพ | th_TH |
dc.title | อุปสรรคและปัจจัยเอื้ออำนวยต่อการนำผลการพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่องไปใช้ของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลชุมชน จังหวัดนครราชสีมา | th_TH |
dc.title.alternative | Barriers and facilitator factors in utilization of continuous quality improvement results by professional nurses in Community Hospitals, Nakhon Ratchasima Provinc | th_TH |
dc.type | Thesis | th_TH |
dc.identifier.DOI | 10.14457/STOU.the.2014.217 | en_US |
dc.degree.name | พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this descriptive research were: 1) to study the perception of barriers and facilitator factors in utilization of continuous quality improvement (CQI) by professional nurses in Community Hospitals, Nakhon Ratchasima province, and 2) to compare the perception of barriers to utilize CQI by professional nurses in terms of work experience, working position, levels of CQI knowledge, sizes of their hospitals, and their Hospital Accreditation. The sample included 323 professional nurses who worked in nursing departments form 12 community hospitals in Nakhon Ratchasima province. They were selected by stratified random sampling based on hospital sizes and the hospital accreditation. Questionnaires were used as research tool and comprised 3 parts: 1) The personal data, 2) perception of barriers to utilize CQI. It was a 4-point Likert scale and consisted of 20 items with four subscale: nurses, organization, characteristics of CQI utilization, and communication. 3) The 9-item facilitator factors in CQI utilization. Content validity of the questionnaire were examined by 5 experts. The content validity indexes of the second and third parts of the questionnaire were 0.96, and 0.97respectively. The reliability of second part was 0.84. Data were analyzed by descriptive statistics, Mann-Whitney U Test, and Kruskal Wallis OneWay Analysis of variance. The findings were as follows: 1) The professional nurses rated their perception of barriers to utilize continuous quality improvement at the moderate level. They rated the communication subscale at the highest level followed by organization characteristics of CQI , and nurse respectively. The top three facilitator factors perceived by professional nurses were the following. (a) The organization emphasized in utilizing CQI for developing their works (90.70 %). (b) Professional nurses were promoted to increase their knowledge and ability to conduct and utilize CQI (84.50 %). (c) CQI was assigned as a part of routine work (82.70 %). 2) There were statistically significant differences in perception of barriers in CQI utilization among professional nurses in terms of work position, levels of CQI knowledge, hospital sizes, and their hospital accreditation (p < 0.05). However, there was no statistical difference in perception of barriers in CQI utilization of professional nurses in term of work experience. (p> 0.05) | en_US |
Appears in Collections: | Nurse-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
fulltext.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 11.85 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License