Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2863
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สุวรรณี ยหะกร | th_TH |
dc.contributor.author | อวยพร กลิ่นหอม, 2516- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-01-27T05:59:57Z | - |
dc.date.available | 2023-01-27T05:59:57Z | - |
dc.date.issued | 2559 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2863 | en_US |
dc.description.abstract | การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) พัฒนาแบบฝึกการอ่านเรื่องมาตราตัวสะกด สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ที่กำหนด และ(2) เปรียบเทียบความสามารถในการอ่านวิชาภาษาไทยของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร ระหว่างก่อนและหลังเรียนด้วยแบบฝึกการอ่านที่พัฒนาขึ้นกลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร ในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2559 จำนวน 28 คน ที่ได้มาโดยการสุ่มแบบกลุ่ม เครื่องมือการวิจัย ได้แก่(1) แบบฝึกการอ่านเรื่องมาตราตัวสะกดีสำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 และ (2) แบบวัดความสามารถในการอ่านมาตราตัวสะกด สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าประสิทธิภาพ E1/E2 ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าทีผลการวิจัยปรากฏว่า (1) แบบฝึกการอ่านเรื่องมาตราตัวสะกดีสำหรับนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 มีประสิทธิภาพ 81.36/82.74 ซึ่งเป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนดไว้และ (2) คะแนนเฉลี่ยความสามารถในการอ่านมาตราตัวสะกดหลังเรียนของนักเรียน สูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาหลักสูตรและการสอน--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | ภาษาไทย--การอ่าน | th_TH |
dc.subject | ภาษาไทย--การศึกษาและการสอน (ประถมศึกษา) | th_TH |
dc.subject | การศึกษาอิสระ--หลักสูตรและการสอน | th_TH |
dc.title | ผลการใช้แบบฝึกการอ่านเรื่องมาตราตัวสะกดที่มีต่อความสามารถในการอ่านวิชาภาษาไทยของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร | th_TH |
dc.title.alternative | Effects of using reading exercises entitled spelling patterns on Thai language reading ability of Prathom Suksa I students in school under Bangkok Metropolitan Administration | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this research were (1) to develop reading exercises entitled Spelling Patterns for Prathom Suksa I students based on the set efficiency criterion; and (2) to compare Thai language reading abilities of the students in schools under Bangkok Metropolitan Administration before and after learning with the use of the developed reading exercises. The sample for this study consisted of 28 Prathom Suksa I students in a school under Bangkok Metropolitan Administration during the first semester of the 2016 academic year, obtained by cluster sampling. The employed research instruments comprised (1) reading exercises entitled Spelling Patterns for Prathom Suksa I students, and (2) an achievement test on spelling patterns reading ability. Statistics employed for data analysis were the E1/E2 efficiency index, percentage, mean, standard deviation, and t-test. Research findings showed that (1) the developed reading exercises entitled Spelling Patterns for Prathom Suksa I students was efficient at 81.36/82.74 which met the set efficiency criterion; and (2) the post-learning mean score on spelling patterns reading ability of the students was significantly higher than their pre-learning counterpart mean score at the .01 level. | en_US |
Appears in Collections: | Edu-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
fulltext_155616.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 4.6 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License