Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/286
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธีรภัทร์ เสรีรังสรรค์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorรุ่งพงษ์ ชัยนาม, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorวสุธิดา ช่อทิพย์, 2517--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-06T06:45:22Z-
dc.date.available2022-08-06T06:45:22Z-
dc.date.issued2557-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/286-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ร.ม. (การเมืองการปกครอง))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2557th_TH
dc.description.abstractการวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ที่มาและสาระของแนวคิดประชาธิปไตย แบบร่วมปรึกษาหารือ 2) รูปแบบและวิธีการในการนำแนวคิดประชาธิปไตยแบบร่วมปรึกษาหารือมาพัฒนาการเมืองของไทย วิธีการศึกษาเป็นการศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพประกอบด้วยการวิจัยจากเอกสารและการสำรวจภาคสนามชงใช้วิธีการสัมภาษณ์แบบเจาะลึก โดยใช้แบบสัมภาษณ์เชิงลึกแบบมีโครงสร้างสัมภาษณ์กลุ่มตัวอย่างที่เป็นตัวแทนจากกลุ่มนักวิชาการ กลุ่มผู้ทรงคุณวุฒิและกลุ่มตัวแทนภาคประชาสังคม จำนวน 10 ท่านและนำข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์เชิงพรรณนาแล้วจึงสรุปผล ผลการวิจัยพบว่า (1) ประชาธิปไตยแบบร่วมปรึกษาหารือ เป็นประชาธิปไตยแบบตัวแทนที่ผสมผสานไปกับการมีส่วนร่วมในขอบเขตที่กว้างขวางของประชาชน โดยมีนักคิดชาวเยอรมัน คือ เจอเก้น ฮาเบอร์มาส เป็นผู้เสนอแนวคิดนี้ (2) แนวคิดประชาธิปไตยแบบร่วมปรึกษาหารือมีผลต่อการพัฒนาการเมืองของไทยโดยเป็นปัจจัยส่งเสริม ช่วยลดความขัดแย้งความแตกแยกทางความคิดในทางการเมืองของไทยนำไปสู่ความสมานฉันท์ เพราะประชาชนใช้หลักแห่งเหตุผลในการแสดงความคิดเห็น และยอมรับพังเหตุผล ส่งเสริมการมีส่วนร่วมทางการเมือง ทำให้ประชาธิปไตยแบบตัวแทนมีประสิทธิภาพมากขึ้น ก่อให้เกิดการพัฒนาการเมืองของไทย (3) รูปแบบในการดำเนินการตามแนวคิดนี้ได้แก่ การประชาเสวนาหาทางออก การเสวนาแบบเวทีเปิด การเปิดเวทีแสดงความคิดเห็นในสื่อต่างๆ และการใช้วิธีการลงคะแนนโดยผ่านกระบวนการปรึกษาหารือ (4) วิธีการนำแนวคิดนี้มาใช้ให้มีประสิทธิภาพต้องทำในลักษณะผสมผสานการคิดเชิงบูรณาการ โดยรัฐทำหน้าที่เป็นผู้อำนวยกระบวนการคอยให้การสนับสนุน ให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ ผ่านกระบวนการประชามติ โดยการเปิดเวทีสาธารณะในรูปแบบต่างๆ เพื่อให้เกิดการยอมรับข้อตกลงและมีบทสรุปร่วมกัน นำไปสู่การแก้ไขปัญหาได้อย่างถูกต้อง ลดการขัดแย้ง เกิดเป็นสังคมสมานฉันท์th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2014.91-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชารัฐศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการเมืองการปกครอง -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectประชาธิปไตยแบบสานเสวนาth_TH
dc.subjectการพัฒนาทางการเมืองth_TH
dc.subjectการพัฒนาประชาธิปไตย -- ไทยth_TH
dc.titleแนวคิดประชาธิปไตยแบบร่วมปรึกษาหารือกับการพัฒนาการเมืองของไทยth_TH
dc.title.alternativeDeliberative democracy and Thailand's Political developmenten_US
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2014.91-
dc.degree.nameรัฐศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชารัฐศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to study: 1) The source and the essence of Deliberative Democracy. 2) The format and method to bring Deliberative Democracy to develop Thailand’s Political. The study is a qualitative research study includes documentary research and รนrvey research which use in-depth interviews. Using in-depth interviews interview were represented by a group of scholars the group of experts and non-government organization (NGO) representatives of 10 members and descriptive method was analyzed and then draw conclusions. The results showed that: 1) Deliberative Democracy is a representative democracy in combination with participation in a wide range of people. The German thinker was met Jurgen Habermas who proposed this concept. 2) Deliberative Democracy is consulted affect political development of Thailand as a promoting factor. Reduce conflict cleavage of opinion in politics of Thailand, leading to reconciliation. Because the primary use of reason in the comments. And listening to reason Promote political participation. A representative democracy more effective contributes to the political development of Thailand. 3) Formed in action, including public deliberation, dialogue open forum, the opening stage to comment on the media and Deliberative Polling. 4) How to use this concept to be effective must be made in incorporating the idea of integration. The state acts as a moderator to support the process forward. Public participation in decision-making. Through the referendum process by opening a public forum in various forms. To achieve an agreement and a conclusion together. Contribute to resolving the conflict is properly reduce social solidarityen_US
Appears in Collections:Pol-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
150146.pdfเอกสารฉบับเต็ม54.93 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons