Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2870
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอนุชา ภูริพันธุ์ภิญโญ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorพงษ์พัฒน์ หมวกหลำ-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาส่งเสริมการเกษตรและสหกรณ์th_TH
dc.date.accessioned2023-01-27T06:42:34Z-
dc.date.available2023-01-27T06:42:34Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2870-
dc.description.abstractการศึกษาคนคว้าอิสระครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาระดับความรู้ความเข้าใจและการ ประยกตุใช้ ในปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 2.) เพื่อศึกษาปัจจยส่วนบุคคลกับระดับความรู้ความเข้าใจและระดับการ นําไปประยุกต์ใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 3.) เพื่อศึกษาความสามารถในการถ่ายทอดความรู้หลกปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียงของเจาหน้าที่การศึกษาใช้ข้อมูลปฐมภมิู โดยการใชแบบสอบถามประชากรที่ใช้ในการ ศึกษาครั้งนี้ได้แก่ ลูกค้า ธ.ก.ส. สาขาแม่ตืน อําเภอลี้ จังหวดลำพูน ที่ผ่านการฝึกอบรมจากธ.ก.ส. จํานวน 125 คน เลือกกลุ่มตัวอย่าง จํานวน 96 คนโดยใช้สูตรทาโร่ยามาเน่ ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ 0.05 สถิติเชิงพรรณนาที่ใช้ในการวิเคราะห์ ข้อมูล ได้แก่ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ยเลขคณิต ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติเชิงอ้างอิง ได้แก่การทดสอบสมมุติฐานเพื่อทดสอบความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรโดยค่าสหสัมพันธ์ของเพียรสัน (Pearson Correlation) ผลการศึกษาพบว่า สมาชิกส่วนใหญ่ (ร้อยละ74) มีความรู้และเข้าใจในหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง สมาชิก ส่วนใหญ่ (ร้อยละ79.08 ) ได้นําแนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงประยุกต์ ในการดำเนินชีวิต สมาชิกส่วนใหญ่มีระดับการนำ แนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ให้ เกิดประโยชน์แก่ตนเองอยู่ในระดับปานกลาง ด้านความสามารถในการถ่ายทอด ความรู้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของเจ้าหน้าที่อยู่ในระดับปานกลาง การนำแนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ให้เกิดประโยชน์ในเรื่องการออมเงิน มีความสัมพันธ์กับการถ่ายทอดความรู้ของเจ้าหน้าที่อยาางมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 (ค่าสหสัมพันธ์ = .350) และในเรื่องการลด ละเลิกกิจกรรมฟุ่มเฟือย การปลูกพืชและเลี้ยงสัตวเพื่อบริโภคในครัวเรือนและแลกเปลี่ยนระหว่างครัวเรือน แทนหาซื้อจากตลาด และหากมีปัญหาเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นในครอบครัวได้ใช้ เหตุผล สติปัญญา ตัดสินใจอย่างรอบคอบมีความสัมพันธ์กับการถ่ายทอดความรู้ของเจ้าหน้าที่อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (ค่าสหสัมพันธ์ = .210, .224 และ .241) ส่วนในเรื่องอื่น ๆ ไม่มีความสัมพันธ์กับการถ่ายทอดความรู้ของเจ้าหน้าที่th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสหกรณ์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาส่งเสริมการเกษตรและสหกรณ์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectเศรษฐกิจพอเพียงth_TH
dc.subjectการดำเนินชีวิต--แง่เศรษฐกิจth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--สหกรณ์th_TH
dc.titleความรู้ความเข้าใจและการประยุกต์ใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในการดำเนินชีวิตประจำวัน ของลูกค้าธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร (ธ.ก.ส.) สาขาแม่ตืน อำเภอลี้ จังหวัดลำพูนth_TH
dc.title.alternativeKnowledge, comprehension and application of sufficiency economy philosophy for everyday's life of Bank for Agriculture and Agricultural Cooperatives customers, Mae Tuen Branch Lee District, Lamphun Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (สหกรณ์)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาส่งเสริมการเกษตรและสหกรณ์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study were 1) to study the knowledge and understanding level of the Philosophy of Sufficient Economy and its application 2) to study the basic individual factors and the level of knowledge and understanding as well as the level of its application concerning the Sufficiency Economy philosophy 3) to study the officer’s ability of knowledge transference following the Sufficiency Economy philosophy. The study methodology was applying the questionnaire for the primary data collecting as the tool. The population was concentrated on customers of Bank for Agriculture and Agricultural Cooperatives (BAAC) with 126 persons. According to Taro Yamane’s formula, the sample size of 96 persons was selected at the statistically significant level 0.05. The descriptive statistics was applied as percentage, arithmetic mean, standard deviation. Pearson Correlation as implemented as hypothesis testing of factors correlation. The study showed that the customers of BAAC mostly received the understanding and knowledge of Sufficiency Economy. Moreover they implemented the concepts of Sufficiency Economy for their daily life. Majority of BAAC customers applied the Sufficiency at the moderate personal level. The knowledge transference of BAAC offices following the Philosophy of Sufficiency Economy was moderate level. Most of the time, people were implemented the Sufficiency Economy in terms of saving, reducing the extravagance of their life. Family farming such as growing plats, animal farming for household consumption was the way for people who implemented the Sufficiency Economy concepts. Products from family faming were exchangeable among householders instead of marketable line. Family problem solving with thoughtfulness of reasonable intelligence was the way of its applicationen_US
Appears in Collections:Agri-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
128369.pdfเอกสารฉบับเต็ม11.25 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons