Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2878
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธนรัชฏ์ ศิริสวัสดิ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorกรรณิการ์ ชัยชาญธรรม, 2526--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-01-27T07:11:35Z-
dc.date.available2023-01-27T07:11:35Z-
dc.date.issued2559-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2878-
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าอิสระครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) สร้างหนังสืออ่านเพิ่มเติม เรื่องตำนานพื้นบ้านและประเพณีของจังหวัดสระบุรี สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ในจังหวัดสระบุรี และ (2) ตรวจสอบคุณภาพของหนังสืออ่านเพิ่มเติมที่สร้างขึ้นกลุ่มตัวอย่างได้แก่ ผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 3 คน และนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ในจังหวัดสระบุรี จำนวน 10 คน ได้มาจากการเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ ได้แก่ 1) หนังสืออ่านเพิ่มเติม เรื่องตำนานพื้นบ้านและประเพณีของจังหวัดสระบุรี 2) แบบประเมินคุณภาพของหนังสืออ่านเพิ่มเติม และ3) แบบสอบถามความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อหนังสืออ่านเพิ่มเติม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ยค่าดัชนีความสอดคล้อง และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานผลการศึกษาปรากฏว่า (1) หนังสืออ่านเพิ่มเติม เรื่องตำนานพื้นบ้านและประเพณีของจังหวัดสระบุรี ที่สร้างขึ้นประกอบด้วย ตำนานพื้นบ้าน 5 เรื่อง ได้แก่ ตำนานพระพุทธบาท ตำนานเสาร้องไห้ ตำนานถ้ำมหาสนุก ตำนานผาเสด็จ และตำนานพระพุทธฉาย ส่วนประเพณีมี 6 เรื่อง ได้แก่ ประเพณีตกับาตรดอกไม้ ประเพณีกำฟ้าประเพณีตกับาตรข้าวต้มลูกโยน ประเพณีจุดประทีปตีนกา ประเพณีทำบุญข้าวห่อและประเพณีพิธีราโรง โดยแต่ละเรื่องมีภาพประกอบและกิจกรรมท้ายเรื่อง และ (2) ผลการตรวจสอบคุณภาพหนังสือโดยผู้ทรงคุณวุฒิปรากฏว่าหนังสืออ่านเพิ่มเติมในภาพรวม มีความเหมาะสมโดยมีค่าดัชนีความสอดคล้องอยู่ระหว่าง 0.66-1.00 และนักเรียนมีความคิดเห็นต่อหนังสืออ่านเพิ่มเติมในภาพรวม พบว่ามีความเหมาะสมอยู่ในระดับมากth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาหลักสูตรและการสอน --การศึกษาเฉพาะกรณี.th_TH
dc.subjectหนังสืออ่านประกอบ--การศึกษาและการสอน (ประถมศึกษา)--ไทย--สระบุรีth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--หลักสูตรและการสอนth_TH
dc.titleการสร้างหนังสืออ่านเพิ่มเติม เรื่องตำนานพื้นบ้านและประเพณีของจังหวัดสระบุรี สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 จังหวัดสระบุรีth_TH
dc.title.alternativeThe construction of a supplementary reading entitled folk legends and traditions of Saraburi Province for Prathom Suksa VI Students in Saraburi Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this independent study were (1) to construct a supplementary reading entitled Folk Legends and Traditions of Saraburi Province for Prathom Suksa VI students in Saraburi province; and (2) to verify quality of the constructed supplementary reading. The sample consisted of three purposively selected experts and 10 Prathom Suksa VI students in Saraburi province. The employed instruments for the study were (1) the constructed supplementary reading entitled Folk Legends and Traditions of Saraburi Province, (2) a quality assessment form for the supplementary reading, and (3) a questionnaire on student’s opinions toward the supplementary reading. Statistics for data analysis were the IOC index, percentage, mean, and standard deviation. Findings of this study were as follows: (1) the constructed supplementary reading entitled Folk Legends and Traditions of Saraburi Province contained five folk legends, namely, Phra Buddhabhat Legend, Sao Ronghai Legend, Tham Maha Sanuk Legend, Pha Sadet Legend, and Phra Bhuddhachai Legend; it also contained six traditions, namely, Tak Bart Dokmai Tradition, Kam Fa Tradition, Tak Bart Khao Tom Luk Yon Tradition, Chut Pratheep Teenka Tradition, Tham Bun Khao Ho Tradition, and Phithi Ramrong Tradition; each story had illustrations, and end-ofstory activities; and (2) results of qualify verification by the experts showed that the constructed supplementary reading as a whole was appropriate, with the IOC indices ranging from 0.66 to 1.00; and the students had opinions that the supplementary reading as a whole was appropriate at the high level.en_US
Appears in Collections:Edu-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext_154902.pdf6.35 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons