Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2905
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorชนิพรรณ จาติเสถียร, อาจารย์ที่่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorจารุวรรณ จันจินดา, 2528--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-01-28T04:42:09Z-
dc.date.available2023-01-28T04:42:09Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2905-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาความสามารถในการลงความเห็นข้อมูลของเด็กปฐมวัยก่อนและหลังการทดลอง (2) เปรียบเทียบความสามารถในการลงความเห็นข้อมูลของเด็กปฐมวัยก่อนและหลังการจัดกิจกรรมการเล่านิทาน กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ เด็กปฐมวัยชั้นอนุบาลปีที่ 3 อายุ 5-6 ปี จำนวน 23 คน โรงเรียนวัดพุมเรียง จังหวัดสุราษฎร์ธานี ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2562 ได้มาโดยวิธีการสุ่มแบบกลุ่มเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ (1) แผนการจัดกิจกรรมการเล่านิทาน และ (2) แบบวัดความสามารถในการลงความเห็นข้อมูลของเด็กปฐมวัย สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการวิจัยปรากฏว่า (1) ความสามารถในการลงความเห็นข้อมูลของเด็กปฐมวัยหลังการทดลองสูงขึ้นกว่าก่อนการทดลอง (2) เด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมการเล่านิทานมีความสามารถในการลงความเห็นข้อมูลสูงขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาหลักสูตรและการสอน --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectการเล่านิทาน--การศึกษาและการสอน (อนุบาลศึกษา)th_TH
dc.subjectเด็กวัยก่อนเข้าเรียน--กิจกรรมการเรียนการสอนth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--หลักสูตรและการสอนth_TH
dc.titleผลการจัดกิจกรรมการเล่านิทานที่มีผลต่อความสามารถในการลงความเห็นข้อมูลของเด็กปฐมวัย โรงเรียนวัดพุมเรียง จังหวัดสุราษฎร์ธานีth_TH
dc.title.alternativeThe effects of storytelling activities management on inferring ability of preschool children at Wat Phumriang School in Surat Thani Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were (1) to study the ability to infer of preschool children before and after the experiment (2) to compare the ability to infer before and after the storytelling activities. The sample consisted of 23 preschool children aged 5-6 years in kindergarten year 3 in the second semester of the academic year 2019 at Wat Phumriang School in Surat Thani province, obtained by group randomization. The research instruments were (1) the storytelling activity plans and (2) the inferring ability of preschool children test. The statistics employed for data analysis were mean, standard deviation, and t-test. Research findings showed that (1) the inferring ability of preschool children was higher after the experiment and (2) the inferring ability of the children after participated in the storytelling activities was significantly higher at .05 level, Than their experiment counterpart ability.en_US
Appears in Collections:Edu-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext_164620.pdf19.1 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons