Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2908
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวินิจ เทือกทอง, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorชนิดา กิติตุ้ย, 2534--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-01-29T02:14:42Z-
dc.date.available2023-01-29T02:14:42Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2908-
dc.description.abstractการศึกษาวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยด้านเจตคติต่อการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ ความตั้งใจเรียนวิชาคณิตศาสตร์ และแรงจูงใจใฝ่ สัมฤทธิ์ในการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ กับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3 โรงเรียนในสหวิทยาเขตเวียงป้อ จังหวัดน่านและ (2) สร้างสมการพยากรณ์ความสัมพันธ์ของปัจจัยที่มีผลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3 โรงเรียนในสหวิทยาเขตเวียงป้ อ จังหวัดน่านกลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3 ปี การศึกษา 2562 โรงเรียนในสหวิทยาเขตเวียงป้อ จังหวัดน่าน จ านวน 119 คน โดยค านวณขนาดกลุ่มตัวอย่างด้วยโปรแกรม G *Power 3.1 และท าการสุ่มตัวอย่างแบบชั้นภูมิตามสัดส่วน ได้มาโดยการสุ่มแบบแบ่งชั้น เครื่องมือการวิจัยประกอบด้วยแบบวัดเจตคติต่อการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ แบบวัดแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ในการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ แบบวัดความตั้งใจเรียนวิชาคณิตศาสตร์และ แบบบันทึกคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ซึ่งแบบวัดตัวแปรอิสระทั้ง 3ตัวแปรผู้วิจัยใช้ Google formในการรวบรวมข้อมูล โดยวิเคราะห์ค่าความเที่ยง ของแบบวัดทั้ง3ฉบับโดยใช้สูตรสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาค ได้ค่าความเที่ยงเท่ากับ 0.954, 0.945 และ 0.905 ตามล าดับ สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูลคือ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สหสัมพันธ์ และการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอนระดับลดหลั่นผลการวิจัยปรากฏว่า (1) ผลการวิเคราะห์สหสัมพันธ์ระหว่าง ความตั้งใจเรียนวิชาคณิตศาสตร์ เจตคติต่อการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ และ แรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ในการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ กับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียน มีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เท่ากับ 0.926 0.914 และ 0.906 ตามล าดับ ซึ่งมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และ (2) ผลการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอนระดับลดหลั่น พบว่าตัวแปรอิสระทั้ง 3ตัวร่วมกันอธิบายความแปรปรวนในตัวแปรตามได้ร้อยละ 88.00 (R2 = 0.880) ซึ่งมีขนาดสูงและมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .01 1และมีสมการถดถอยรูปคะแนนดิบและรูปมาตรฐาน ดังนี้ Achievement’ = 18.364 + 0.936(Determination) + 0.403(Attitude) +0.297(Motivation) Z' Achievement = 0.500(Z Determination) + 0.277 (Z Attitude) + 0.181(Z Motivation)th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาหลักสูตรและการสอน --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน--คณิตศาสตร์th_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--หลักสูตรและการสอนth_TH
dc.titleปัจจัยที่ส่งผลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนในสหวิทยาเขตเวียงป้อ จังหวัดน่านth_TH
dc.title.alternativeFactors affecting mathematics learning achievement of Mathayom Suksa III students of Wiang Po School Consortium in Nan Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were (1) to study the relationships of the factors of attitude towards mathematics learning, determination to study mathematics, and achievement motivation for learning mathematics with mathematics learning achievement of Mathayom Suksa III students of Wiang Po School Consortium in Nan province; and (2) to create an equation for predicting the relationships of factors affecting mathematics learning achievement of Mathayom Suksa III students of Wiang Po School Consortium in Nan province. The research sample consisted of 119 Mathayom Suksa III students of Wiang Po School Consortium in Nan province in the academic year 2019, obtained by proportionate stratified random sampling. The sample size was calculated with the use of the G*Power 3.1 Program. The research instruments were a scale to assess attitude towards mathematics learning, a scale to assess achievement motivation for learning mathematics, a scale to assess determination to study mathematics, and a form for recording mathematics learning achievement. The researcher used a Google form for collecting data on the three independent variables. The Cronbach’s alpha reliability coefficients of the three scales, as calculated by the Cronbach’s alpha coefficient formula, were 0 . 954, 0.945 and 0.905 respectively. The statistics used for data analysis were the mean, standard deviation, correlation, and stepwise multiple regression analysis. The research findings revealed that (1) the factors of determination to study mathematics, attitude towards mathematics learning, and achievement motivation for learning mathematics correlated with the students’ mathematics learning achievement with the correlation coefficients of 0.914, 0.906 and 0.926 respectively, all of which were significant at the .0 1 level; and ( 2 ) results of hierarchical stepwise multiple regression analysis showed that the three independent variables could be combined to explain the variance of the dependent variable by 88.00% (R 2 = 0.880) which was at the high level and significant at the.01 level. The predicting equations in raw score form and standard score form were as follows.Achievement = 18.364 + 0.936(Determination) + 0.403(Attitude) + 0.297(Motivation) Achievement Determination Attitude Motivation Z = 0.500(Z ) + 0.277(Z ) + 0.181(Z )en_US
Appears in Collections:Edu-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext_166504.pdfเอกสารฉบับเต็ม12.35 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons