Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2921
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวินิจ เทือกทอง, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorมินตรา โกพล, 2534--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-01-29T06:54:24Z-
dc.date.available2023-01-29T06:54:24Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2921-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เปรียบเทียบความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ เรื่อง ทฤษฎีบทพีทาโกรัส ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ระหว่างก่อนและหลังการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยกระบวนการสืบเสาะความรู้ (5Es) และ (2) เปรียบเทียบความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ ของนักเรียนที่ได้รับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยกระบวนการสืบเสาะความรู้ (5Es) กับเกณฑ์ร้อยละ 70 กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนมัธยมวัดสิงห์ กรุงเทพมหานคร ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2563 จำนวน 44 คน ได้มาโดยวิธีการสุ่มแบบกลุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย (1) แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง ทฤษฎีบทพีทาโกรัส โดยการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยกระบวนการสืบเสาะความรู้ (5Es) และ (2) แบบทดสอบวัดความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ เรื่อง ทฤษฎีบทพีทาโกรัส ได้ค่าความเที่ยงเท่ากับ 0.60 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและการทดสอบค่าที ผลการวิจัยปรากฎว่า (1) ความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ เรื่อง ทฤษฎีบทพีทาโกรัส ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 หลังการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยกระบวนการสืบเสาะความรู้ (5Es) สูงกว่าก่อนได้รับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ (2) ความสามารถในการแก้ไขปัญหาทางคณิตศาสตร์ของนักเรียนผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาหลักสูตรและการสอน --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectคณิตศาสตร์--กิจกรรมการเรียนการสอนth_TH
dc.subjectคณิตศาสตร์--การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา)th_TH
dc.titleผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้วิชาคณิตศาสตร์ด้วยกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ (5Es) เพื่อส่งเสริมความสามารถในการแก้ปัญหาเรื่อง ทฤษฎีบทพีทาโกรัส ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2th_TH
dc.title.alternativeThe effects of inquiry learning management (5Es) to enhance mathematical problem solving ability in the topic of Pythagoras' Theorem of Mathayom Suksa II Studentth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were (1) to compare mathematical problem solving ability in the topic of Pythagoras’ Theorem of Mathayom Suksa II students before and after learning with the use of the inquiry (5Es), and (2) to compare mathematical problem solving ability after learning with the use of the inquiry (5Es) with the passing criterion of 70 percent. The research sample consisted of 44 Mathayom Suksa II students from Mathayom Wat Sing school, obtained by cluster sampling. The employed research instruments were (1) mathematics learning management plans in the topic of Pythagoras’s Theorem with the use of the inquiry (5Es), and (2) a mathematical problem solving ability test in the topic of Pythagoras’ Theorem with the reliability of 0.60. Statistics employed for data analysis were the mean, standard deviation, and t-test. Research finding revealed that (1) mathematical problem solving ability in the topic of Pythagoras’ Theorem of the students after learning with the use of the inquiry (5Es) was higher than that before learning statistically significant at the level of .05, and (2) mathematical problem solving ability met the specified criteria of 70 percent at the .05 level of statistical significanceen_US
Appears in Collections:Edu-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext_164593.pdfเอกสารฉบับเต็ม10.95 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons