Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2932
Title: | การศึกษาเปรียบเทียบการผลิตทางเกษตรตามแบบเดิมกับแบบใหม่ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของสมาชิกสหกรณ์ในเขตจัดนิคมสหกรณ์ดงมูลจังหวัดขอนแก่น |
Other Titles: | Comparative study on traditional agricultural production and modern agricultural production base on sufficiency economy of members of Dongmool Land-Settlement cooperative, Khonkaen province |
Authors: | โอภาวดี เข็มทอง พรฤทธิ์ ห่วงรัก มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาส่งเสริมการเกษตรและสหกรณ์ |
Keywords: | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสหกรณ์--การศึกษาเฉพาะกรณี เกษตรกรรม--แง่เศรษฐกิจ เกษตรทฤษฎีใหม่--ไทย--ขอนแก่น การศึกษาอิสระ--สหกรณ์ เกษตรกร--ไทย--ขอนแก่น |
Issue Date: | 2552 |
Publisher: | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช |
Abstract: | การศึกษาเปรียบเทียบการผลิตเพื่อการเกษตรตามแบบเดิมกับแบบใหม่ตามหลักปรัญาเศรษฐกิจ พอเพียง เพื่อต้องการทราบว่าการผลิตแบบใหม่ตามหลักปรัญเศรษฐกิจพอเพียง เป็นวิธีการผลิดที่ใหั ผลตอบแทนคุ้มค่าต่อการลงทุนเมึ่อได้นำไปปฎิบัติแล้วจะทำใหัสมาชิกมีการประกอบอาชีพตลอดปี มีรายได้มั่นคง ถาวร แกัไขปัญหาเรื่องหนึ้สิน ที่จะได้นำวิธีการไปปรับปรุงหรึอประยุกต์ไช้เพื่อการส่งเสริมการผลิตทางการเกษตร ในโอกาสต่อไป การศึกษาเรึ่องนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) สภาพทั่วไปของสมาชิกที่ได้เข้าร่วมโครงการศึกษา เปรียบเทียบการผลิตทางการเกษตรตามแบบเดิมกับแบบใหม่ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 2) เปรียบเทียบการ ผลิตทางการเกษตรตามแบบเดิมกับแบบใหม่ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 3) ควานคิดเห็นของสมาชิกที่ผลิด ทางการเกษตรตามแบบเดิมกับแบบใหม่ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 4) ระบบการผลิตทางการ เกษตรตาม แบบเติมกับแบบใหม่ดามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง และ 5) กิจกรรมที่มีความจำเป็นในการผลิดทางการเกษตร แบบใหม่ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงใหัประสบผลสำเร็จ ผู้ศึกษาในฐานะผู้แนะนำส่งเสริมจะใหัการศึกษา อบรม แนะนำแกัไขปัญหาในระหว่างการผลิตให้กับประชากรที่ใช้ในการศึกษาคือ สมาชิกสหกรณ์ที่ใด้รับการ สนับสนุนใหัขุดสระน้ำเพื่อการเกษตรประจำไร่นา ระหว่างปี 2535 - 2543 จำนวน 30 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บ รวบรวมข้อมูลคือ แบบสัมภาษณ์ สถิติที่ได้ในการวิเคราะห์ ได้แก่ ค่าความถี่ ค่ารัอยละ ค่าเฉลี่ย และส่วน เบี่ยงเบนมาตรฐาน โดยใช้คอมพิวเตอร์ ผลการศึกษาพบว่า สมาชิกสหกรณ์ส่วนใหญ่เป็นเพศชาย จบการศึกษาภาคบังคับ และมัธยมศึกษามี อายุเฉลี่ย 45.20 ปี มีสมาชิกในครัวเรึอนเฉลี่ย 4.07 คน มีแรงงานในภาคการเกษตรเฉลี่ย 4.10 คน มีรายได้จากการ ขายผลผลิตเฉลี่ยปืละ 28,833.33 บาท ใช้พื้นที่ทำการเกษตร ตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 1 ไร่ มีน้ำใช้เพื่อ การเกษตรเพียงพอตลอดปี รัอยละ 23.33 มีน้ำใช้ไม่เพียงพอตลอดปี รัอยละ 76.67 มีประสบการทำการเกษตร จำนวนกิจกรรมในแปลงหลากหลายมีการปลูกไม้ยืนต้นเป็นพืชหลัก กิจกรรม ได้รับการสนับสนุนปัจจัยการผลิตคือ สระน้ำเพื่อการเกษตรขนาดเล็ก คนละ 1 สระ สมาชิกสหกรณ์มีความคิดเห็น เห็นด้วยอย่างยิ่งต่อการทำการเกษตร ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง และเห็นว่ากิจกรรมที่มีความจำเป็นที่ทำให้โครงการประสบผลส่าเร็จ มี 10 กิจกรรม ที่สมาชิกเห็นด้วยอย่างยิ่ง และมี 2 กิจกรรม ที่สมาชิกมีความเห็นด้วย จากการวิเคราะห์ พบว่ามีปัจจัยที่ เกี่ยวข้องกับความส่าเร็จของสมาชิกสหกรณ์ที่เข้าร่วมโครงการเปรียบเทียบการผลิตทางการเกษตรตามแบบเดิมกับ แบบใหม่ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงคือ การเป็นคนหัวไวใจสู้ สมัครใจดำเนินโครงการ พรัอมรับความรู้ และเชื่อฟังผู้แนะนำส่งเสริม และทุกฝ่ายต้องหาความรู้ประสบการณ์ และมีความคิดในการพัฒนาการผลิตทาง การเกษตรตลอดเวลา |
URI: | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2932 |
Appears in Collections: | Agri-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
118595.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 5.27 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License