Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2933
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorส่งเสริม หอมกลิ่นth_TH
dc.contributor.authorพรรัตน์ แก้วคงทองth_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.date.accessioned2023-01-30T04:00:47Z-
dc.date.available2023-01-30T04:00:47Z-
dc.date.issued2557-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2933en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ปัจจัยส่วนบุคคลของสมาชิกสหกรณ์ 2) ระดับความสำคัญของปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการชำระหนี้ของสมาชิกสหกรณ์ และ 3) ความสัมพันธ์ของปัจจัยต่างๆ กับความสามารถในการชำระหนี้ของสมาชิกสหกรณ์ ประชากรที่ใช้ในการศึกษา คือ สมาชิกสหกรณ์การเกษตรบ้านนาสาร จำกัด ณ 31 มีนาคม 2557 เฉพาะที่มีหนี้กับสหกรณ์ ทั้งหมดจำนวน 480 คน ศึกษาจากกลุ่มตัวอย่าง โดยใช้สูตรของยามาเน่จำนวน 219 คน เครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลได้แก่ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและการทดสอบไคสแควร์ผลการศึกษาพบว่า 1) สมาชิกส่วนใหญ่เป็นเพศชาย อายุอยู่ในช่วง 41-50 ปี การศึกษาในระดับ ประถมศึกษา สมรสแล้ว ประกอบอาชีพทำสวนยางพาราเป็นอาชีพหลักไม่มีอาชีพอื่นนอกภาคการเกษตร รายได้จากภาคการเกษตรเฉลี่ยต่อปี ระหวาง 100,000-200,000 บาท รายจ่ายในภาคเกษตรของครัวเรือนเฉลี่ยต่อปี ต่ำกว่า 20,000 บาท รายจ่ายนอกภาคการเกษตรเฉลี่ย ต่อเดือน ระหว่าง 5,000 – 10,000 บาท มูลหนี้ทุกประเภทกับสหกรณ์ 100,001 บาทขึ้นไป ชำระหนี้คืนให้กับสหกรณ์เมื่อครบกำหนดสัญญาทั้งเงินต้นและดอกเบี้ย ไม่มีมูลหนี้กับแหล่ง เงินกู้อื่น มีกรรมสิทธิ์ในที่ดินทำการเกษตรระหว่าง 11 -20 ไร่ มูลค่าทรัพย์สินที่มีอยู่ใน ปัจจุบัน 500,001 บาทขึ้นไป การค้ำประกันเงินกู้ของสมาชิกใช้ทรัพย์สินค้ำประกันมีมูลค่าทรัพย์สินค้ำประกันเงินกู้ 300,001 บาท ขึ้นไป 2) ระดับความสำคัญของปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการชำระหนี้ของสมาชิกสหกรณ์พบว่า ปัจจัยด้านการผลิต การตลาด และด้านสหกรณ์ มีผลต่อความสามารถในการชำระหนี้อยู่ในระดับปานกลาง ปัจจัยด้านสภาพแวดล้อมพบว่า สภาพทางเศรษฐกิจและนโยบายของรัฐมีผลต่อความสามารถในการชำระหนี้ของสมาชิกอยู่ในระดับมากปัจจัยด้านภัยธรรมชาติมีผลต่อความสามารถในการชำระหนี้อยู่ในระดับปานกลาง และ 3) ปัจจัยด้านสภาพแวดล้อมและนโยบายกองทุนหมู่บ้านมีผลต่อความสามารถในการชำระหนี้ของสหกรณ์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสหกรณ์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectสหกรณ์การเกษตรth_TH
dc.subjectการชำระหนี้th_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--สหกรณ์th_TH
dc.titleปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการชำระหนี้ของสมาชิกสหกรณ์การเกษตรบ้านนาสาร จำกัด จังหวัดสุราษฎร์ธานีth_TH
dc.title.alternativeFactors affecting loan repayment ability of the members of Ban Na San Agricultural Co-operatives, Limited in Surat Thani Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต(สหกรณ์)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to study 1) the personal factors of the members of the co-operatives, 2) the important level of factors affecting loan repayment ability of the members of the co-operatives, and 3) the relationships between various factors and loan repayment ability of the members of the cooperatives. The population in this study consisted of 480 members of Ban Na San Agricultural Co-operatives, Limited, Surat Thani Province, who had debts with the co-operatives at 31 March 2014, 219 samples were selected by using Taro Yamane formula. Data were collected by using a questionnaire and analyzed by the statistical methods including frequency, percentage, mean, standard deviation, and Chi square test. The results of the study showed that 1) the majority of the members were male with the age range of 41-50 years, married, and finished primary education. They had income from rubber plantation with no additional income from nonagricultural occupation. They average annual agricultural income was between 100,000-200,000 baht, while the agricultural expense was less than 20,000 baht per year. The non-agricultural expenses were in the range of 5,000 – 10,000 baht a month. They had loans with the co-operatives at the amount of 100,001 baht or more, and these were repaid with the principal and interest at the time period specified in the contract. They hadn’t had any loans with any other sources of credit. They owned an average between 11-20 rai of land (1 rai = 1,600 square meters) and had assets of 500,001 baht or more. They had posted assets worth 300,001 baht or more as collateral. 2) The significant level of factors relating to loan repayment ability, it was reported that production, marketing, and co-operative factors were related to loan repayment ability of the members at moderate level, while environment factors including economic situation and government policy were related to the loan repayment ability at moderate level, too. Hence, 3) environmental factors and the village fund policy were related to the loan repayment ability of the members of the co-operatives at statistical significanceen_US
Appears in Collections:Agri-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
146705.pdfเอกสารฉบับเต็ม13.03 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons