Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2944
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorส่งเสริม หอมกลิ่น, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorสุเทพ ช่วยอุระชน, 2507--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.date.accessioned2023-01-31T06:32:20Z-
dc.date.available2023-01-31T06:32:20Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2944-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษา 1) ปัจจัยด้านประชากรศาสตร์ของสมาชิกสหกรณ์ในการซื้อสินค้า ของสหกรณ์ 2) ระดับความสำคัญ ของปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดในการซื้อสินค้าของสหกรณ์ 3)ความสัมพันธ์ของปัจจัยด้านประชากรศาสตร์ของสมาชิกที่มีผลต่อการซื้อสินค้าของสหกรณ์ 4) ความสัม พันธ์ของปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดที่มีผลต่อการซื้อสินค้าของสหกรณ์ ประชากรที่ใช้ในการศึกษา คือ สมาชิกที่ซื้อสินค้าของสหกรณ์การเกษตรนิคมฯ ลำน้ำน่าน จำกัด จำ นวน 288 คน โดยศึกษาจากกลุ่มตัว อย่าง 168 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลคือ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติทดสอบไคสแควร์ ผลการศึกษาพบว่า 1) สมาชิกสหกรณ์ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง อายุระหว่าง 41-50 ปี การศึกษาระดับ ประถมศึกษาหรือต่ำกว่าระยะเวลาการเป็นสมาชิก 5 - 10 ปี รายได้ของครัวเรือนต่อเดือนไม่เกิน 4,000 บาท พื้นที่ทการเกษตร 6-25 ไร่ การซื้อสินค้าของสหกรณ์ส่วนใหญ่ซื้อพันธุ์สัต ว์/อาหารสัตว์ ปุ๋ย พันธุ์พืช และเคมีการเกษตร ตามลำดับ ความถี่ในการซื้อสินค้าสหกรณ์ต่อปี ต่ำกว่า 5 ครั้ง และปริมาณซื้อต่ำกว่า 1,000 บาทต่อ ครั้ง 2) ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดในการซื้อสินค้าสหกรณ์โดยรวมแล้วอยู่ในระดับมาก โดยมีระดับความสำคัญตามลำดับ ดังนี้ ด้านการบริการคุณภาพสินค้า และการประชาสัมพีนธ์ของสหกรณ์ ความสัมพันธ์ด้านประชากรศาสตร์และปัจจัยส่วนประสมทางการตลาด พบว่า เพศ อายุ และรายได้ของครัวเรือน มีความสัมพันธ์กับตราสิน้ค้ (ยี่ห้อ) ของสินค้าที่จัดหามาจำหน่ายที่ระดับนัยสำคัญที่ 0.05 รายได้ของครัวเรือนมีความสัมพันธ์กับชนิดของสินค้า สหกรณ์ที่ระดับนัยสำคัญ 0.01 และพื้นที่ในการทำการเกษตรมีความสัมพันธ์กับการประชาสัมพันธ์ของสหกรณ์ที่ระดับ 0.01 และมีความสัมพันธ์กับการบริการของสหกรณ์ที่ระดับนะยสำคัญ 0.05 3) ความสัมพันธ์ของปัจจัยด้านประชาการศาสตร์ของสมาชิกที่มีผลต่อการซื้อสินค้าของสหกรณ์ พบว่าพื้นที่ในการทำการเกษตรมีความสัมพันธ์กับการซื้อสินค้าของสมาชิกสหกรณ์ที่ระดับนัยสำคัญ 0.01 และด้านชนิดสินค้าที่ซื้อ ได้แก่ ปุ๋ย เพศ และระยะเวลาการเป็นสมาชิก มีความสัม พันธ์กับการซื้อสินค้าของสมาชิกสหกรณ์ด้านชนิดสินค้า ที่ซื้อ ได้แก่ ปุ๋ย และเคมีการเกษตร ที่ระดับนัยสำ คัญ 0.05 4) ความสัมพันธ์ของปัจจัย ส่วนประสมทางการตลาดที่มีผลต่อการซื้อสินค้าของสหกรณ์พบว่า คุณภาพสินค้า ชนิดของสินค้าสหกรณ์ และราคาของสินค้า มีความสัมพันธ์กับการซื้อสินค้า ด้านปริมาณที่ซื้อสินค้าต่อปีที่ระดับนัยสำคัญ 0.01 และคุณภาพสินค้า และชนิดของสินค้าสหกรณ์มีความสัมพันธ์กับการซื้อสินค้าสหกรณ์ด้านชนิดสินค้า ที่ซื้อที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 ได้แก่ เคมีการเกษตร และปุ๋ย และราคาของสินค้า และบรรจุภัณฑ์มีความสัมพันธ์กับความถี่ในการซื้อสินค้าต่อปี และบรรจุภัณฑ์หับห่อสินค้า มีความสัม พันธ์กับการซื้อสินค่า ปริมาณที่ซื้อสินค้าต่อปีที่ระดับนัยสำคัญ 0.05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสหกรณ์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectสหกรณ์การเกษตรนิคมฯ ลำน้ำน่าน--สมาชิกth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--สหกรณ์th_TH
dc.subjectการซื้อสินค้าth_TH
dc.subjectสหกรณ์การเกษตรth_TH
dc.titleปัจจัยที่มีผลต่อการซื้อสินค้าสหกรณ์ของสมาชิกสหกรณ์การเกษตรนิคมฯ ลำน้ำน่าน จำกัด จังหวัดอุตรดิตถ์th_TH
dc.title.alternativeFactors affecting consumers' buying behavior of products from Nikom Lamnam Nan Agricultural Cooperative, Limited, Uttaradit Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (สหกรณ์)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to study 1) the demographic factors of members of Nikom Lamnam Nan Agricultural Cooperative, Ltd, who bought products from the cooperative; 2) the importance of marketing mix factors in influencing the members’ buying decisions; 3) the relationship of members’ demographic factors to their buying behavior; and 4) the relationship of marketing mix factors to members’ buying behavior. The study population was the 288 members of Nikom Lamnam Nan Agricultural Cooperative, Ltd, who bought products from the cooperative, out of which a sample population of 168 was surveyed. Data were collected using a questionnaire and analyzed using frequency, percentage, mean, standard deviation and chi square test. The results showed that 1) The majority of samples were female, age 41-50, educated to no higher than primary school level, and had been members of the cooperative for 5-10 years. Most of them had household income of no more than 4,000 baht a month and farm land of 0.96-4.0 hectares. The things they purchased from the cooperative the most were livestock/animal feed, fertilizer, planting materials, and agricultural chemicals, in that order. They bought things from the cooperative less than 5 times a year and spent less than 1,000 baht per time. 2) Overall, all of the marketing mix factors had a high level of influence on members’ buying decisions. They rated service, product quality and public relations the highest, in that order. There was a statistically significant relationship (p>0.05) between members’ sex, age and household income and the factor of brand name of products for sale; and between the amount of farm land owned by members and the factor of cooperative services. There was a highly significant relationship (p>0.01) between members’ household income and the factor of kinds of products sold; and between the amount of farm land owned and the factor of public relations. 3) There was a highly significant relationship (p>0.01) between the amount of farm land owned and the type of products purchased from the cooperative (fertilizer). There was a significant relationship (p>0.05) between members’ sex and number of years of membership and the type of products purchased from the cooperative (fertilizer and agricultural chemicals). 4) There was a highly significant relationship (p>0.01) between product quality, kinds of products offered, and price and the amount of products purchased each year. There was a significant relationship (p>0.05) between product quality and kinds of products offered and type of products purchased (agricultural chemicals and fertilizer). There was a significant relationship (p>0.05) between price and product packaging and the number of times members made purchases each year. There was a significant relationship (p>0.05) between product packaging and the amount of products members purchased each year.en_US
Appears in Collections:Agri-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT_140799.pdfเอกสารฉบับเต็ม10.09 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons