Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2946
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorส่งเสริม หอมกลิ่น, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorพิชญา แย้มทัศน์-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.date.accessioned2023-01-31T07:15:57Z-
dc.date.available2023-01-31T07:15:57Z-
dc.date.issued2559-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2946-
dc.description.abstractการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) สภาพทั่วไปของสมาชิกสหกรณ์ 2) บทบาทสหกรณ์ ในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของสมาชิกสหกรณ์และ 3) ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะการพัฒนาคุณภาพชีวิต ของสมาชิกสหกรณ์การเกษตรถาวรพัฒนาพิษณุโลก จํากัด จังหวัดพิษณุโลก การศึกษานี้เป็นการวิจัยเชิงสํารวจ ประชากรที่ใช้ในการศึกษาคือสมาชิกของสหกรณ์การเกษตร ถาวรพัฒนาพิษณุโลก จํากัด ณ วันที่ 30 เมษายน 2559 จํานวน 108 คน โดยศึกษาจากประชากรทั้งหมด เครื่องมือ ที่ใช้ในการศึกษา คือ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน และการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการศึกษาพบว่า 1) สภาพทั่วไปของสมาชิกสหกรณ์ เป็นเพศหญิง ร้อยละ 52.8 อายุ 51 - 60 ปี ร้อยละ 34.3 และอายุระหวาง 41 -50 ปี ร้อยละ 32.4 ระดับการศึกษาประถมศึกษา ร้อยละ 53.7 อาชีพทํานาร้อยละ 88.0 รายได้เฉลี่ยต่อเดือน ตํ่ากว่า 10,001 บาท ร้อยละ 58.3 ระยะเวลาการเป็นสมาชิกระหว่าง 3 – 5 ปีร้อยละ 25.9 และ 1- 3 ปี ร้อยละ 23.1 การมีส่วนร่วมในการถือหุ้นในสหกรณ์ตํ่ากว่า 5,001 บาท ร้อยละ 53.7 การมีส่วนร่วม ในธุรกิจสินเชื่อซึ่งเคยกู้เงินกับสหกรณ์ร้อยละ 75.9 จํานวนเงิน 10,001 – 50,000 บาท ร้อยละ 56.1 ความถี่ จํานวน 2 – 3 ครั้ง ร้อยละ 39.0 และน้อยกว่า 2 ครั้ง ร้อยละ 35.4 การมีส่วนร่วมในธุรกิจจัดหาสินค้ามาจําหน่าย เคยซื้อสินค้ากับสหกรณ์ร้อยละ 63.0 โดยซื้อสินค้าทางการเกษตรร้อยละ 69.1 ความถี่จํานวน 2 – 3 ครั้ง ร้อยละ 38.2 และน้อยกว่า 2 ครั้ง ร้อยละ 36.8 2) บทบาทสหกรณ์ในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของสมาชิกสหกรณ์ได้แก่ ด้านการดําเนินชีวิต ด้านเศรษฐกิจ และด้านสังคม โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง ทุกด้าน (ค่าเฉลี่ย 3.39) ได้แก่ด้าน การดําเนินชีวิต (ค่าเฉลี่ย 3.45) ด้านเศรษฐกิจ (ค่าเฉลี่ย 3.43) และด้านสังคม (ค่าเฉลี่ย 3.29) ตามลําดับ 3) ปัญหา อุปสรรคที่สําคัญคือ คณะกรรมการและสมาชิกยังไม่เข้าใจในระบบสหกรณ์มากนักการให้เงินกู้ล่าช้าจากวันที่ ชําระคืนเงินทุนของสหกรณ์น้อยไป และสมาชิกที่เข้าร่วมประชุมกับสหกรณ์มีจํานวนน้อย ส่วนข้อเสนอแนะ คือ สมาชิกอยากให้มีการจัดอบรมความรู้เรื่องสหกรณ์ ต้องการให้เพิ่มสวัสดิการกับสมาชิกให้มากขึ้น และควรจัดการ การให้เงินกู้ให้เร็วขึ้นth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสหกรณ์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectสมาชิกสหกรณ์การเกษตรถาวรพัฒนาพิษณุโลก จำกัดth_TH
dc.subjectคุณภาพชีวิต--ไทย--พิษณุโลกth_TH
dc.subjectสหกรณ์การเกษตร--สมาชิกth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--สหกรณ์th_TH
dc.titleบทบาทสหกรณ์กับการพัฒนาคุณภาพชีวิตของสมาชิกสหกรณ์การเกษตรถาวรพัฒนาพิษณุโลก จำกัด จังหวัดพิษณุโลกth_TH
dc.title.alternativeThe role of the cooperatives in developing the quality of life of members of Thavorn Pattana Phitsanulok Agricultural Cooperatives Ltd., Phitsanulok Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (สหกรณ์)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to study 1) the demographics of members of Thavorn Pattana Phitsanulok Agricultural Cooperative, Ltd.; 2) the role of the cooperative in development of the quality of life of its members; and 3) problems and suggestions. This was a survey research. The study population was 108 members of Thavorn Pattana Phitsanulok Agricultural Cooperative, Ltd., who were registered as of 30 April, 2016. Data were collected from the entire study population using a questionnaire. Data were statistically analyzed using frequency, percentage, mean, standard deviation and content analysis. The results showed that 1) 52.8% of the cooperative members were female; 34.3% were in the 51-60 age range and 32.4% were in the 41-50 age range; 53.7% were educated to primary school level; 88% were rice farmers; 58.3% reported average income of less than 10.001 baht a month; 25.9% had been cooperative members for 3-5 years and 23.1% had been cooperative members for 1-3 years; 53.7% held less than 5,001 baht worth of shares in the cooperative; 75.9% had previously taken out loans from the cooperative; 56.1% had taken out loans in the range of 10,001-50,000 baht; 39% had taken out loans 2-3 times and 35.4% had taken out loans less than 2 times; 63% had purchased goods from the cooperative; 69.1% had purchased agricultural goods; 39.2% had purchased goods from the cooperative 2-3 times and 36.8% had purchased goods less than 2 times. 2) The cooperative members reported that overall the cooperative had a medium role (3.39 on a Rankin scale) in developing their quality of life. The mean scores were 3.45 for living life, 3.43 for economic aspects and 3.29 for social aspects. 3) The main problems cited by members were that cooperative members and board members still lacked deep understanding about the cooperative system, the extension of loans was slow, the number of days for repaying principal was too few, and only a few members attended meetings. Members’ suggestions were to hold training sessions to increase knowledge about cooperatives, to provide more benefits for members, and to speed the process of loan extensionen_US
Appears in Collections:Agri-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
153833.pdfเอกสารฉบับเต็ม11.64 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons