Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/296
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorลาวัณย์ ถนัดศิลปกุล, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorวิมาน กฤติพลวิมาน, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorสุรินรัตน์ แก้วทอง, 2527--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-06T08:23:19Z-
dc.date.available2022-08-06T08:23:19Z-
dc.date.issued2558-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/296-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (น.ม. (กฎหมายธุรกิจ))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2558th_TH
dc.description.abstractการวิจัยเรื่องการศึกษาเปรียบเทียบกฎหมายเกษตรพันธสัญญาของประเทศไทยและสาธารณรัฐ ประชาธิปไตยประชาชนลาว เพื่อรองรับการค้าสินค้าเกษตรภายใต้ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนนี้ มีวัตถุประสงค์ เพื่อวิเคราะห์มาตรการทางกฎหมายเกี่ยวกับเกษตรพันธสัญญาของประเทศไทยและสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ควบคู่กับการวิเคราะห์มาตรการทางกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับเกษตรพันธสัญญาซึ่งจัดทำโดย UNIDROIT เพื่อวิเคราะห์แนวทางที่เหมาะสมในการรองรับการค้าสินค้าเกษตรภายใต้ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน การวิจัยเรื่องนี้เป็นการวิจัยทางกฎหมายโดยใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ ซึ่งมีกระบวนการ ค้นคว้าวิจัยจากแหล่งข้อมูลเอกสารต่างๆ อาทิ ตำรา บทความทางวิชาการ ความเห็นของนักกฎหมายทั้งใน ประเทศไทยและต่างประเทศ เพื่อนำองค์ความรู้ที่ได้มาวิเคราะห์สังเคราะห์ และนำเสนอข้อมูลการวิเคราะห์ และข้อเสนอแนะในรูปแบบเชิงพรรณา ผลการวิจัยพบว่าเกษตรพันธสัญญาของทั้งสองประเทศเป็นการทำสัญญา ซึ่งผู้ประกอบธุรกิจทางการเกษตรมีอำนาจในการต่อรองในการทำสัญญา(Bargaining Power) มากกว่าเกษตรกร ทำให้ทั้งสองประเทศ พบปัญหาความไม่เป็นธรรมที่เกิดขึ้นกับเกษตรกรในรูปแบบเดียวกัน นอกจากนี้ทั้งสองประเทศยังไม่มีกฎหมาย หรือมาตรการโดยเฉพาะที่ช่วยเพิ่มอำนาจต่อรองให้กับเกษตร รวมถึงการขาดคณะกรรมการเฉพาะด้านการเกษตร ที่ทำหน้าที่ในการควบคุมและตรวจสอบ รวมถึงการกำหนดนโยบายด้านการทำเกษตรพันธสัญญา ซึ่งเมื่อเปรียบเทียบกับคู่มือทางกฎหมายในการทำเกษตรพันธสัญญา UNIDROIT พบว่าคู่มือฉบับนี้ช่วยลดปัญหาความ ไม่เท่าเทียมหรือการเอารัดเอาเปรียบของผู้ประกอบการต่อเกษตรกรได้ในหลายแนวทางที่สามารถนำมาปรับใช้ได้อย่างเหมาะสม ดังนั้น จากการศึกษาวิเคราะห์ผู้เขียนจึงเสนอให้จัดทำพระราชบัญญัติเกษตรพันธสัญญา เพื่อจัดตั้งกรมเกษตรพันธสัญญา สังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และคณะกรรมการเฉพาะด้านเกษตรพันธสัญญา ทำหน้าที่เป็นศูนย์กลางด้านเกษตรพันธสัญญาโดยเฉพาะสำหรับการส่งเสริม สนับสนุน ควบคุมดูแลการทำเกษตรพันธสัญญารวมถึงมาตรการอื่นๆ ที่เป็นการผลักดันเกษตรพันธสัญญา ที่เป็นธรรมและเพิ่มอำนาจต่อรอง ให้กับเกษตรกรรวมไปถึงการผลักดันให้มีกฎหมายหรือกฎระเบียบที่เข้ามาควบคุมการทำเกษตรพันธสัญญาในระดับภูมิภาคอาเซียนด้วยth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช-
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายธุรกิจ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนth_TH
dc.subjectเกษตรพันธสัญญา -- กฎหมายและระเบียบข้อบังคับth_TH
dc.subjectสินค้าเกษตรth_TH
dc.titleการศึกษาเปรียบเทียบกฎหมายเกษตรพันธสัญญาของประเทศไทยและสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวเพื่อรองรับการค้าสินค้าเกษตรภายใต้ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนth_TH
dc.title.alternativeA comparative study of contract farming law in Thailand and Lao people's democratic republic for a preparation for the agricultural trade in ASEAN Economic Community - AECth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to study contract farming law in Thailand and Lao People's Democratic Republic, and to analyze UNIDROIT/FAO/IFAD Legal Guide on Contract Farming. The aim of this research was to find the proper contract farming laws and regulations that Thailand should apply for the agricultural trade in ASEAN Economic Community - AEC. This thesis was a qualitative research based on documentary research conducted through data collection, book review on Thai and Laos’ laws, law journals, and case studies from Thai and international sources, which were used to identify the issues of contract farming in Thailand and Lao People's Democratic Republic comparing to UNIDROIT/FAO/IFAD Legal Guide on Contract Farming This study has found that contract farming in Thai and Lao People's Democratic Republic is a kind of an agreement between entrepreneurs and agriculturists based on an unequal bargaining power. Therefore, the agricultural trade under the ANEAN Economic Community which have been increasingly made under the contract farming regime both in Thailand and Lao People's Democratic Republic seem to have the same problems arising from the unequal bargaining power and the lacking of the proper laws and regulations to balance the bargaining power of the parties to the contract farming agreement based on the fair practice. This study has further found that there is no specific laws, regulations, or proper measures dealing with these problems in Thailand and Lao People's Democratic Republic. The lack of a specialized agricultural organization for controlling and monitoring all agricultural contracts including contract farming agreement was the heart of the problem. This study has found that UNIDROIT/FAO/IFAD Legal Guide on Contract Farming may be used to solve the problems of the unequal bargaining power and the unfair exploitation from contract farming. Consequently, the author proposes that to stipulate a Thai Contract Farming Act providing a Contract Farming Committee and Contract Farming Department as a part of the Ministry of Agriculture and Cooperatives would be a proper resolution. The main tasks of this committee and department would be to monitor and solve the problems of contract farming. They should also support contract farming as a tool to push agricultural policies from the government, as well as to enhance the fair advantages for both entrepreneurs and agriculturists under the ASEAN Economic Community. Moreover, the Thai government should propose to ASEAN to provide a legal guide for contract farming in ASEAN at a regional level, which may be used by other ASEAN member countries.en_US
Appears in Collections:Law-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Thesbib152359.pdfเอกสารฉบับเต็ม5.31 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons