Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/3004
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ธัญญรัศม์ วศวรรณวัฒน | th_TH |
dc.contributor.author | มณฑา ณ พัทลุง | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-02-02T08:23:24Z | - |
dc.date.available | 2023-02-02T08:23:24Z | - |
dc.date.issued | 2558 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/3004 | en_US |
dc.description.abstract | การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ปัจจัยส่วนบุคคล และปัจจัยทางเศรษฐกิจของ สมาชิกสหกรณ์นิคมหลังสวน จํากัด 2) ระดับความสําคัญของปัจจัยด้านสหกรณ์ที่มีผลต่อพฤติกรรมการ ออมของสมาชิกสหกรณ์นิคมหลังสวน จํากัด และ 3) ความสัมพันธ์ของปัจจัยส่วนบุคคล ปัจจัยทาง เศรษฐกิจ และปัจจัยด้านสหกรณ์กับ พฤติกรรมการออมของสมาชิกสหกรณ์นิคมหลังสวน จํากัด ประชากรที่ศึกษา คือ สมาชิกสหกรณ์นิคมหลังสวน จํากัด จํานวน 2,327 คน กำหนด ขนาดของกลุ่มตัวอย่าง จํานวน 342 คน โดยใช้สูตรของ ทาโร่ยามาเน่ เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บ รวบรวม ข้อมูล คือ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วน เบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติทดสอบไคสแควร์ ผลการศึกษา พบว่า 1) กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง มีอายุไม่เกิน 40 ปี สถานภาพ สมรส การศึกษาระดับประถมศึกษาขนาดของครัวเรือน จํานวน 4-6 คน วัตถุประสงค์ในการออมเพื่อใช้ ในการศึกษาของบุตร/หลาน รายได้และรายจ่ายต่อปี เฉลี่ย ไม่เกิน 200,000 บาท และจํานวนผู้มีเงินได้ ในครัวเรือน 1-3 คน พฤติกรรมการออมของสมาชิกส่วนใหญ่ออมเงินประเภทเงินฝากออมทรัพย์ ร้อยละ 64.62 ความถี่ในการออม 6 เดือนต่อครั้ง ร้อยละ 54.09 และวงเงินที่ออมเฉลี่ยต่อครั้ง มากกว่า 1,000 บาท ร้อยละ 78.36 2) ปัจจัยด้านสหกรณ์ที่มีผลต่อพฤติกรรมการออมเงินมีระดับความสําคัญในระดับมาก ทุกปัจจัย ที่สูงที่สุด ได้แก่ การมีระบบการให้บริการฝาก/ถอนเงิน เช่นเดียวกับสถาบันการเงินอื่น สถานที่ตั้งเดินทางไปมาสหกรณ์สะดวก และอัตราดอกเบี้ยของสหกรณ์ 3) ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ ต่อพฤติกรรมการออมของสมาชิกอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 คือ ปัจจัยส่วนบุคคล ได้แก่ สถานภาพสมรสและขนาดของครัวเรือนมีความสัมพันธ์ กับประเภทการออมปัจจัยทางเศรษฐกิจได้แก่ จํานวนผู้มีเงินได้ในครัวเรือน และปัจจัยด้านสหกรณ์ได้แก่ บริการฝาก/ถอนเงินที่รวดเร็วของสหกรณ์ มีความสัมพันธ์กับประเภทการออม และจํานวนเงินออมเฉลี่ยต่อครั้ง บริการด้านข้อมูลข่าวสาร บริการ ของเจ้าหน้าที่และความซื่อสัตย์และโปร่งใสของกรรมการสัมพันธ์กับประเภทการออม และความถี่ ในการออม ส่วนด้านภาพลักษณ์และความมั่นคงของสหกรณ์สัมพันธ์กับประเภทการออม ความถี่ ในการออมและจํานวนการออมเฉลี่ยต่อครั้ง | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสหกรณ์--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | สหกรณ์นิคมหลังสวน จำกัด--สมาชิก | th_TH |
dc.subject | การประหยัดและการออม | th_TH |
dc.subject | การศึกษาอิสระ--สหกรณ์ | th_TH |
dc.title | ปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการออมของสมาชิกสหกรณ์นิคมหลังสวน จำกัด จังหวัดชุมพร | th_TH |
dc.title.alternative | Factors affecting saving behaviors of the members of Langsaun Settlement Cooperatives Limited in Chumphon Province | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (สหกรณ์) | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this research were to study 1) the personal factors and economic factors of Lang Suan Settlement Cooperatives Limited members; 2) the level of significance of cooperative factors that affected the members’ savings behavior: and 3) the relationships among personal factors, economic factors, cooperative factors and the savings behavior of the cooperative members. The study population was 2,327 members of Lang Suan Settlement Cooperatives Limited. The sample size of 342 members was determined using the Taro Yamane method. The data collection tool was a questionnaire. Data were statistically analyzed using frequency, percentage, mean, standard deviation and chi square. The results showed that 1) the majority of samples were female, in the under 40 age group, married, educated to primary school level and had 4-6 household members, out of which 1 to 3 were income earners. Their major objective for saving money was for their children or grandchildren’s education. Their average annual income and average annual expenses were both in the range of no more than 200,000 baht. As for savings behavior, most of the samples (64.42%) had savings accounts and 54.09% said they made a deposit every 6 months. The average amount of deposit per time for 78.36% of samples was more than 1,000 baht. 2) All the cooperative factors studied had a high level of importance in affecting the members’ savings behavior. The factor with the highest score was the factor of having a savings deposit/withdrawal system similar to that of other financial institutions, followed by convenient location, and the cooperative’s interest rate. 3) The factors that were related to the cooperative members’ savings behavior to a statistically significant degree (p< 0.05) were the personal factors of marital status and household size, which was related to type of savings account; the economic factor of number of household members who were income earners; and the cooperative factors of the speediness of the cooperative’s savings deposit/withdrawal service, which was related to type of savings account and average amount of each deposit. The cooperative factors of the cooperative’s news and information service, the service provided by cooperative personnel, and the honesty and transparency of the cooperative’s board of directors were related to type of savings account and frequency of savings deposits; while the factor of the cooperative’s image and stability was related to type of savings account, frequency of deposits and average amount of deposit. | en_US |
Appears in Collections: | Agri-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
149636.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 9.94 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License