Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/3020
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอัจฉรา ชีวะตระกูลกิจ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorมลฤดี ชาวกงจักร-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.date.accessioned2023-02-03T06:31:13Z-
dc.date.available2023-02-03T06:31:13Z-
dc.date.issued2557-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/3020-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสภาพทั่วไปของสหกรณ์ 2) วิเคราะห์ผลการดำเนินงาน และฐานะการเงินของสหกรณ์และ 3) เสนอแนะแนวทางการบริหารธุรกิจของสหกรณ์เมืองนครปฐม จำกัด วิธีการศึกษา ใช้ข้อมูลทุติยภูมิจากงบดุล งบกำไรขาดทุน หมายเหตุประกอบงบการเงิน และ เอกสารทางการเงินอื่นๆ ของสหกรณ์เมืองนครปฐม จำกัด ในช่วงปี บัญชี 30 กันยายน 2553 ถึง 2557 วิเคราะห์ ข้อมูลโดยวิธีวิเคราะห์แนวโน้ม และการวิเคราะห์อัตราส่วนทางการเงินในมุมมอง 6 มิติ (CAMELS Analysis) โดยเปรียบเทียบกับค่าเฉลี่ยของกรมตรวจบัญชีสหกรณ์ ผลการศึกษาพบว่า 1) สภาพทั่วไปของสหกรณ์ เป็นสหกรณ์การเกษตรขนาดใหญ่มาก ปัจจุบันมี สมาชิก 2,471 คน คณะกรรมการ 15 คน ฝ่ายจัดการ 20 คน ดำเนินธุรกิจ 5 ประเภท คือ ธุรกิจรับฝากเงิน ธุรกิจ สินเชื่อ ธุรกิจการจัดหาสินค้ามาจำหน่าย ธุรกิจผลิตน้ำดื่ม และธุรกิจให้บริการ ฐานะทางการเงิน สินทรัพย์ 426.49 ล้านบาท หนี้สิน 182.47 ล้านบาท ทุนของสหกรณ์ 244.02 ล้านบาท มีรายได้ 123.76 ล้านบาท ค่าใช้จ่าย 110.57 ล้านบาท และมีกำไรสุทธิ 13.19 ล้านบาท 2) การวิเคราะห์ผลการดำเนินงานและฐานะการเงินของ สหกรณ์ตั้งแต่ปี 2553 - 2557 พบว่า สหกรณ์มีแนวโน้ม สินทรัพย์เพิ่มขึ้น หนี้สินลดลง ทุนของสหกรณ์สูงกว่า หนี้สินและมีเพียงพอต่อความเสี่ยง ส่วนแนวโน้มรายได้ลดลง ค่าใช้จ่ายเพิ่มขึ้น ทำให้กำไรสุทธิลดลง แต่ละธุรกิจ มีกำไรสุทธิลดลง บางธุรกิจมีผลขาดทุน ส่วนการวิเคราะห์ด้านอัตราส่วนทางการเงินในมุมมอง 6 มิติพบว่า มิติที่ 1 ความเพียงพอของเงินทุนต่อความเสี่ยงอยู่ในเกณฑ์ดี มิติที่ 2 คุณภาพของสินทรัพย์ มีประสิทธิภาพในการนำ สินทรัพย์ไปบริหารให้เกิดรายได้ลดลง มิติที่ 3 ขีดความสามารถในการบริหารจัดการของสหกรณ์อยู่ในเกณฑ์ที่ ไม่น่าพอใจ มิติที่ 4 การทำกำไรของสหกรณ์อยู่ในเกณฑ์ดี มิติที่ 5 สภาพคล่องของสหกรณ์อยู่ในเกณฑ์ดี มิติที่ 6 ผลกระทบของธุรกิจพบว่า มีการเปลี่ยนแปลงอัตราดอกเบี้ยทั้งเงินกู้ และเงินรับฝาก มีคู่แข่งขันจำนวนมากและ การเปลี่ยนแปลงนโยบายรัฐบาล ทำให้ปริมาณธุรกิจลดลง 3) ข้อเสนอแนะ สหกรณ์ควรส่งเสริมการออมเป็นเงิน รับฝากเพิ่มขึ้น เพื่อนำเงินทุนไปสร้างรายได้เพิ่ม บริหารจัดการหนี้ถึงกำหนดและหนี้ค้างชำระให้มีประสิทธิภาพ เพิ่มขีดความสามารถการดำเนินธุรกิจให้สอดคล้องกับภาวะการณ์ปัจจุบัน มีการพัฒนา ปรับปรุง ติดตามและ ควบคุมค่าใช้จ่ายแต่ละธุรกิจให้เหมาะสม ควรสำรวจความต้องการหรือความคิดเห็นมาปรับปรุงการดำเนินธุรกิจ ของสหกรณ์ เพื่อสนองความต้องการและสร้างความพึงพอใจสูงสุดให้กับสมาชิกth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสหกรณ์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectสหกรณ์เมืองนครปฐมth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--สหกรณ์th_TH
dc.subjectการเงินth_TH
dc.titleการวิเคราะห์ผลการดำเนินงานและฐานะการเงินของสหกรณ์เมืองนครปฐม จำกัดth_TH
dc.title.alternativePerformance and financial status analysis of Mueang Nakhon Pathom Co-operatives Limitedth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (สหกรณ์)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study were to 1) investigate the general situations of the co-operatives, 2) analyze the performance and financial status of the co-operatives, and 3) recommend the business management guidelines for the management of co-operatives. The study was based on secondary data consisting of financial accounts, balance sheet, accountant remarks, and other financial documents of Mueang Nakhon Pathom Co-operatives Limited, the accounting years from 30 September 2010 to 2014. Data were analyzed by using trend analysis and CAMELS analysis of financial ratios in comparison to the mean national values published by the Department of Cooperative Auditing. The results showed that 1) the general situations, the co-operatives was classified as a very large agricultural co-operatives with 2,471 members, 15 committees, and 20 managers. It was involved in five business lines including deposit, loan, selling merchandise, drinking water production, and services. At the time of the study the co-operatives had assets of 426.49 million baht, debts of 182.47 million baht, capital of 244.02 million baht, annual income of 123.76 million baht, annual expenses of 110.57 million baht and annual net profits of 13.19 million baht. 2) An analysis of financial status and performance of the co-operatives, from the years 2010 to 2014, it was showed that there was a trend of increasing assets, declining debts, and the capital to be remained as higher than the debt and adequate to guard against risk. The trends of decreasing income and increasing expenses, that caused declining the net profits in all business lines, and reporting financial losses in some business lines. For the CAMELS analysis, Factor 1, capital adequacy, the co-operatives was rated as good; Factor 2, asset quality, the efficiency of co-operatives in managing assets profitably was decreased; Factor 3, management ability was rated as an unsatisfactory; Factor 4, the profit was rated as good; Factor 5, the liquidity of the co-operatives was rated as good; and Factor 6, business risks were found that the changes of loan and deposit interest rates, many competitors, and the change of government policy which could cause the decreasing business volumes of the co-operatives. Hence, 3) the co-operatives was recommended that the saving should be promoted for increasing saving deposits which would make more income from the investment; debt repayments should be efficiently managed; the business capacity should be suitable with the present situation; The expenses of all lines should be appropriate developed, improved, monitored, and controlled. Thus, the co-operatives should survey the demands and opinions of the members and customers in order to make the higher satisfactionen_US
Appears in Collections:Agri-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
146267.pdfเอกสารฉบับเต็ม16.58 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons