Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/3023
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ปวินี ไพรทอง | th_TH |
dc.contributor.author | ภูมิพัฒน์ สัญญา, 2535- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-02-03T06:43:28Z | - |
dc.date.available | 2023-02-03T06:43:28Z | - |
dc.date.issued | 2562 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/3023 | en_US |
dc.description.abstract | การศึกษาค้นคว้าอิสระนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาความเป็นมาและความสําคัญของการไกล่เกลี่ยข้อพิพาททางอาญา (2) ศึกษาแนวคิด ทฤษฎี เกี่ยวกับการสอบสวนและการไกล่เกลี่ยข้อพิพาททางอาญา (3) ศึกษากฎหมายและกระบวนการไกล่เกลี่ยคดีอาญาในประเทศไทยและต่างประเทศ (4) วิเคราะห์ปัญหาบทบาทของผู้ไกล่เกลี่ยข้อพิพาททางอาญาในชั้นการสอบสวน (5) เสนอแนะแก้ไขบทบาทของผู้ไกล่เกลี่ยข้อพิพาททางอาญาในชั้นการสอบสวน การศึกษาค้นคว้าอิสระนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพด้วยวิธีการวิจัยทางเอกสาร โดยทําการศึกษาจากหนังสือ บทความ เอกสารงานวิจัย ข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต ตัวบทกฎหมายที่เกี่ยวข้อง เพื่อใช้เป็นข้อมูลในการศึกษาวิจัย และนำมาวิเคราะห์เพื่อนำไปสู่ข้อสรุปและข้อเสนอแนะของการวิจัยต่อไป ผลการศึกษาพบว่า ประเทศไทยมีปริมาณคดีอาญาขึ้นสู่ศาลเป็นจํานวนมาก ทําให้เกิดปัญหาด้านการบริหารงานยุติธรรมในหลายด้าน เพื่อเป็นการหลีกเลี่ยงการใช้กระบวนการทางศาลโดยไม่จําเป็นและลดผลร้ายจากกระบวนการยุติธรรมกระแสหลัก ประเทศไทยจึงได้นำแนวคิดกระบวนการยุติธรรมทางเลือกมาใช้ควบคู่กับกระบวนการยุติธรรมกระแสหลัก โดยได้มีการตราพระราชบัญญัติการไกล่เกลี่ยข้อพิพาท พ.ศ.2562 ขึ้นมาใช้บังคับ เพื่อแก้ไขปัญหาดังกล่าว แต่จากการศึกษา พบว่าการไกล่เกลี่ยข้อพิพาททางอาญาในชั้นการสอบสวน ในส่วนของบทบาทของผู้ไกล่เกลี่ย พบปัญหา ดังนี้ (1) ปัญหาพนักงานสอบสวนขาดการมีส่วนร่วมในการเป็นผู้ไกล่เกลี่ย โดยพระราชบัญญัติฉบับนี้ ไม่ได้กำหนดบทบาทในการมีส่วนร่วมในการไกล่เกลี่ยข้อพิพาททางอาญาให้กับพนักงานสอบสวน ทั้งที่พนักงานสอบสวนเป็นผู้มีประสบการณ์ด้านการไกล่เกลี่ยข้อพิพาท จึงสมควรที่จะให้พนักงานสอบสวนเข้าร่วมในการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทด้วย (2) ปัญหาการขาดการมีส่วนร่วมของชุมชนในการเป็นองค์คณะไกล่เกลี่ย ซึ่งชุมชนถือว่ามีความสำคัญต่อคู่กรณี เนื่องจากชุมชนเป็นส่วนที่ได้รับผลกระทบจากการกระทำความผิด โดยเมื่อผู้กระทำความผิดพ้นโทษหรือการไกล่เกลี่ยสำเร็จ ผู้กระทำความผิดก็จะต้องกลับสู่ชุมชนของตนเอง ดังนั้น จึงเห็นควรให้ชุมชนเข้าร่วมเป็นองค์คณะไกล่เกลี่ยทางอาญาในชั้นการสอบสวนด้วย และ (3) ปัญหาองค์คณะไกล่เกลี่ยที่เป็นบุคคลภายนอก ทำหน้าที่เป็นผู้ไกล่เกลี่ยเพียงคนเดียว อาจมีการแทรกแซงหรือเรียกรับผลประโยชน์จากคู่กรณีได้ ดังนั้น จึงเห็นว่าการไกล่เกลี่ยควรกระทำในรูปของคณะกรรมการไกล่เกลี่ยข้อพิพาททางอาญา โดยให้ชุมชนร่วมกับพนักงานสอบสวนและบุคคลภายนอกร่วมเป็นองค์คณะไกล่เกลี่ยข้อพิพาท | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายอาญาและกระบวนการยุติธรรม--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | การไกล่เกลี่ย--กฎหมายและระเบียบข้อบังคับ | th_TH |
dc.subject | การศึกษาอิสระ--กฎหมายอาญาและกระบวนการยุติธรรม | th_TH |
dc.title | ปัญหาการไกล่เกลี่ยข้อพิพาททางอาญาตามพระราชบัญญัติการไกล่เกลี่ยข้อพิพาท พ.ศ.2562 : ศึกษาบทบาทผู้ไกล่เกลี่ยข้อพิพาททางอาญาในชั้นการสอบสวน | th_TH |
dc.title.alternative | Problems in criminal dispute mediation under the Dispute Mediation Act B.E.2562 : a study of the roles of mediators at the inquiry stage | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | นิติศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชานิติศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | This independent study aims to (1) study background and importance of criminal dispute mediation (2) examine viewpoint and theory about inquiry and the mediation (3) research law and criminal justice system in Thailand and other countries (4) analyze the challenge of the roles of mediators in criminal dispute mediation at the inquiry stage (5) recommend the improvement of mediators’ role at the inquiry stage. The study conducts by using qualitative methods such as books, articles, research, information from internet and associated provisions. These methods are analyzed leading to the conclusion and recommendation for fixture study. The study found that Thailand had a high volume of criminal cases, causing many problems in the administration of justice. To avoid unnecessary court proceedings and reduce the harmful effects of mainstream justice. Therefore, Thailand had adopted the concept of alternative justice together with the mainstream justice system. The Dispute Mediation Act B.E. 2562 was enacted to force and fix the problem. The study found that there were some problems in the mediation of criminal disputes in the investigation in the role of the mediator. (1) The inquiry official lacked of participation in mediation. In the Act, the participatory role in criminal dispute mediation had not been assigned to be investigators. Despite the investigation officers were experienced. The inquiry official should participate in the mediation of the dispute. (2) Lacking of community participation in mediation, the community which was the most important parties because the community was the most affected by the crime. When the offender was acquitted or the mediation was successful. The perpetrators would return to their own communities, so the community should be included as a criminal mediation at the investigative level. (3) The mediation committee who was from the outsiders Act may be intervened or claimed benefit from the parties. So, die mediation should be done in the form of a criminal dispute mediation committee which collaborated with the inquiry official and third parties. | en_US |
Appears in Collections: | Law-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
FULLTEXT.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 15.12 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License