Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/3044
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวรินธร มณีรัตน์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorมณฑิชา พุทซาคา, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorรักษิณา สัตย์ชาพงษ์, 2518--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-02-03T07:45:37Z-
dc.date.available2023-02-03T07:45:37Z-
dc.date.issued2557-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/3044-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (กษ.ม. (การจัดการการเกษตร))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2557th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาองค์ประกอบทางโภชนะของหญ้าเนเปียร์ปากช่อง 1 แบบสดและหญ้าเนเปียร์ปากช่อง 1 แบบหมัก 2) ศึกษาผลการใช้หญ้าเนเปียร์ปากช่อง 1 ในการผลิตไก่ไทยละโว้ต่อสมรรถภาพการผลิตของไก่ไทยละโว้ และ 3) ศึกษาผลการใช้หญ้าเนเปียร์ปากช่อง 1 ต่อต้นทุนค่าอาหารในการผลิตไก่ไทยละโว้ ผลการวิจัย พบว่า 1) องค์ประกอบทางโภชนะของหญ้าเนเปียร์ปากช่อง 1 แบบสดที่อายุการตัด 45 วัน มีค่า DM, CP, ADF, NDF และ GE เท่ากับ 17.10, 7.10, 38.70, 61.30 เปอร์เซ็นต์ และ 3,518.98 แคลอรี่ต่อกรัม ตามลาดับ ในหญ้าเนเปียร์ปากช่อง 1 แบบหมัก พบว่า มีค่า DM, CP, ADF, NDF และ GE เท่ากับ 23.10, 3.80, 50.50, 66.50 เปอร์เซ็นต์ และ 3,381.16 แคลอรี่ต่อกรัม ตามลาดับ2) เมื่อสิ้นสุดการทดลอง พบว่า อัตราการเจริญเติบโต ปริมาณการกินได้ และ อัตราการแลกเนื้อของไก่ทดลองในทุกทรีตเมนต์ มีค่าแตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสาคัญทางสถิติ (p>0.05) และ 3) ไก่ทดลองใน ทรีตเมนต์ที่ 3 มีต้นทุนค่าอาหารต่อการเพิ่มน้าหนักตัว 1 กิโลกรัมน้อยที่สุด เท่ากับ 61.29±2.46 บาท ขณะที่ทรีตเมนต์ที่ 1, 2, 4 และ 5 มีต้นทุนค่าอาหารต่อการเพิ่มน้าหนักตัว 1 กิโลกรัม เท่ากับ 61.57±2.80, 61.63±1.04, 61.84±1.87 และ 62.35±3.71 บาท ตามลาดับ และจากผลการวิจัย พบว่า การใช้หญ้าเนเปียร์ปากช่อง 1 สามารถใช้ทดแทนอาหารสำเร็จรูปทางการค้าได้ถึง 10 เปอร์เซ็นต์ โดยไม่มีผลต่ออัตราการเจริญเติบโต ปริมาณการกินได้ และอัตราการแลกเนื้อของไก่ไทยละโวth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2014.163-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการจัดการการเกษตร --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectไก่ไทยละโว้--การเลี้ยงth_TH
dc.subjectหญ้าเนเปียร์ปากช่อง 1th_TH
dc.subjectหญ้าเนเปียร์th_TH
dc.titleผลการใช้หญ้าเนเปียร์ปากช่อง 1 ต่อสมรรถภาพการผลิตและต้นทุนค่าอาหารในการผลิตไก่ไทยละโว้th_TH
dc.title.alternativeEffect of Napier Pak Chong 1 grass on productive performance and feed cost in Thai Lavo chickenen_US
dc.typeThesisen_US
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2014.163-
dc.degree.nameเกษตรศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to study 1) chemical composition of fresh Napier Pak Chong 1 grass and Napier Pak Chong 1 silage, 2) the effects of Napier Pak Chong 1 grass on productive performance, and 3) the effects of Napier Pak Chong 1 grass on feed cost in Thai Lavo chicken. The research was designed by completely randomized design (CRD) with 5 treatments and 3 replications. One hundred and twenty Thai Lavo chickens at 31 days old were randomly put in 15 cages with size of 1.2x1.8x2.0 meter (8 heads per cage). Each treatment was fed with different feed as follows: Treatment 1 was fed with commercial concentrate feed (control). Treatment 2 and Treatment 3 were fed commercial concentrate feed with Napier Pak Chong 1 grass substituted at the rates of 5% and 10%, respectively. Treatment 4 and 5 were fed commercial concentrate feed with Napier Pak Chong 1 silage substituted at the rates of 5% and 10%, respectively. The studied period was 78 days. The results showed that 1) DM, CP, ADF, NDF and GE content of Napier Pak Chong 1 grass cut at 45 days were 17.10, 7.10, 38.70, 61.30% and 3,518.98 cal/g., respectively. For Napier Pak Chong 1 silage, DM, CP, ADF, NDF and GE were 23.10, 3.80, 50.50, 66.50% and 3,381.16 cal/g., respectively. 2) The average daily gain, feed intake and feed conversion ratio were not significantly different (p>0.05) in all treatments. 3) Feed cost per kilogram body weight gain of T3 (61.29±2.46) was lowest, compared to T1 (61.57±2.80), T2 (61.63±1.04), T4 (61.84±1.87) and T5 (62.35±3.71). The overall result revealed that Napier Pak Chong 1 could be used to substitute commercial concentrate feed at 10% with no effect on average daily gain, feed intake and feed conversion ratio in Thai Lavo chicken.en_US
Appears in Collections:Agri-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
146095.pdfเอกสารฉบับเต็ม9.71 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons