Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/3047
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | รัตนา ดวงแก้ว | th_TH |
dc.contributor.author | สุจิตรา ภิรมย์นิล, 2529- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-02-03T08:22:43Z | - |
dc.date.available | 2023-02-03T08:22:43Z | - |
dc.date.issued | 2562 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/3047 | en_US |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีจุดประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาการเสริมสร้างชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพของผู้บริหารสถานศึกษาในกลุ่มพิมานปฐม สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 3 จังหวัดนครปฐม ตามการรับรู้ของครู (2) เปรียบเทียบการเสริมสร้างชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพของผู้บริหารสถานศึกษา โดยจําแนกตามขนาดของสถานศึกษา และ (3) ศึกษาปัญหาและข้อเสนอแนะในการเสริมสร้างชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพของผู้บริหารสถานศึกษา กลุ่มตัวอย่าง คือ ครูระดับมัธยมศึกษาในกลุ่มพิมานปฐม จำนวน 222 คน โดยใช้การสุ่มแบบชั้นภูมิ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถามชนิดมาตรประมาณค่าเกี่ยวกับการเสริมสร้างชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพของผู้บริหารสถานศึกษา ซึ่งมีความเที่ยงเท่ากับ .95 และแบบสัมภาษณ์เกี่ยวกับปัญหาและข้อเสนอแนะในการเสริมสร้างชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพของผู้บริหารสถานศึกษา การวิเคราะห์ข้อมูลใช้การหาค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที และการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยปรากฏว่า (1) การเสริมสร้างชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพของผู้บริหารสถานศึกษากลุ่มพิมานปฐม โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก (2) การเสริมสร้างชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพของผู้บริหารสถานศึกษา จำแนกตามขนาดของสถานศึกษา พบว่า แตกต่างกันอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ (3) ปัญหาของผู้บริหารสถานศึกษาในการเสริมสร้างชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ ได้แก่ มีภาระงานมาก ยังไม่มีความเข้าใจเกี่ยวกับการดำเนินงานชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพอย่างแท้จริง มีงบประมาณจำกัด ไม่ได้นำผลการอบรมของครูมาขยายผล ไม่ได้เปิดโอกาสให้ครูพัฒนาอย่างทั่วถึง และไม่มีแนวทางการรายงานผลที่เป็นระบบ ส่วนข้อเสนอแนะสําหรับผู้บริหารสถานศึกษา ได้แก่ การจัดหาผู้เชี่ยวชาญเกี่ยวกับชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพมาร่วมพัฒนาครู การส่งเสริมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของครูทางออนไลน์ การสนับสนุนให้ครูเข้ารับการอบรมอย่างทั่วถึงและนำความรู้และประสบการณ์มาอภิปรายร่วมกัน และการกําหนดรูปแบบการรายงานผลให้ชัดเจน | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารการศึกษา--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | ชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ--ไทย--นครปฐม | th_TH |
dc.subject | การศึกษาอิสระ--บริหารการศึกษา | th_TH |
dc.title | การเสริมสร้างชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพของผู้บริหารสถานศึกษาในกลุ่มพิมานปฐม สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 9 จังหวัดนครปฐม ตามการรับรู้ของครู | th_TH |
dc.title.alternative | Enhancement of professional learning community of school administrators in the Bhimarn Pathom Cluster under the Secondary Education Service Area Office 9 in Nakhon Pathom Province based on teacher's perception | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The proposes of this research were (1) to study the enhancement of professional learning conununity of school administrators in Bliimam Pathom Cluster under the Secondary Education Service .Area Office 9 in Naklion Pathom province based on teacher's perception: (2) to compare the enhancement of professional learning conununity of school administrators as classified by school size: and (3) to smdy the problems and suggestions for the enhancement of professional learning community of school administrators. The sample consisted of 222 secondary-school teachers in Bhimam Pathom Cluster, obtained by stratified random sampling. The research instruments were a rating scale questionnaire dealing with data on enhancement of professional learning community of school administrators, with reliability coefficient of .95: and an interview form concerning problems and suggestions for enhancement of professional learning community of school administrators. The research data were analyzed using the frequency, percentage, mean, standard deviation, t-test, and content analysis. The research findings were as follows: (1) the overall enhancement of professional learning conununity of school administrators in Bhimam Pathom Cluster was at the high level: (2) schools with different sizes significantly differed in the enhancement of professional learning community of school administrators at the .05 level: and (3) problems concerning enhancement of professional learning conununity of school administrators were as follows: lot of workload: lack of understanding how to implement an authentic professional learning conununity in schools: limited budget: neglecting to expand the teacher training results: failing to provide the development opportunities of teachers thoroughly: and lack of systematic reporting guidelines: while suggestions for school administrators were as follows: providing professional learning conununity experts to collaboratively develop teachers; promoting online learning exchange among teachers: supporting teachers to attend professional learning conununity training courses thoroughly and sharing knowledge and experiences by discussion: and formulating a clear reporting template | en_US |
Appears in Collections: | Edu-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
FULLTEXT.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 21.61 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License