Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/305
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอารี ชีวเกษมสุข, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorเพ็ญจันทร์ แสนประสาน, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorพันธิภา พิญญะคุณ, 2506--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-08T03:04:30Z-
dc.date.available2022-08-08T03:04:30Z-
dc.date.issued2557-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/305-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม. (การบริหารการพยาบาล))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2557th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยและพัฒนา มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อพัฒนารูปแบบการบริการคลินิกเบาหวาน โดยประยุกต์ใช้แนวคิดแบบลีนโรงพยาบาลศูนย์เจ้าพระยายมราช จังหวัดสุพรรณบุรี และ 2) เปรียบเทียบ ผลของการใช้รูปแบบบริการคลินิกเบาหวาน ที่พัฒนาขึ้นกับรูปแบบเดิมในด้าน (1) ความพึงพอใจต่อคุณภาพการ บริการของคลินิกเบาหวาน (2) ระยะเวลาการใช้บริการ (3) คุณค่าของสายธารการให้บริการตามการรับรู้ของ ผู้ป่วย และ (4) คุณภาพการบริการที่มีการลดความสูญเปล่าจากการใช้บริการครั้งแรก กลุ่มตัวอยางเป็นผู้ป่วยโรคเบาหวานที่มารับบริการที่คลินิกเบาหวาน แผนกผู้ป่วยนอก จำนวน 62 คน ได้จากการคัดเลือกแบบเฉพาะเจาะจง การศึกษาแบ่งเป็น 3 ระยะ คือ 1) ระยะก่อนพัฒนารูปแบบ 2) ระยะพัฒนารูปแบบ และ 3) ระยะทดลองใช้รูปแบบและประเมินผล เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) รูปแบบการบริการคลินิกเบาหวาน โดยประยุกต์ใช้แนวคิดแบบลีนที่พัฒนาขึ้น 2) แบบสอบถามความพึงพอใจต่อคุณภาพการบริการ ของผู้ป่วยคลินิกเบาหวาน 3) แบบบันทึกเวลา การใช้บริการคลินิกเบาหวาน และ 4) นาฬิกาสำหรับจับเวลาที่เทียบ กับเวลามาตรฐานของกรมประชาสัมพันธ์ ความตรงตามเนื้อหาของแบบสอบถาม ความพึงพอใจต่อคุณภาพการ บริการของผู้ป่วยคลินิกเบาหวาน มีค่าระหว่าง 0.5 - 1.00 และมีค่าความเที่ยงเท่ากับ 0.96 วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาความถี่ ร้อยละค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน มัธยฐาน ส่วนเบี่ยงเบนควอไทล์ และสถิติทดสอบที กรณีกลุ่มตัวอย่าง 2 กลุ่มไม่เป็นอิสระต่อกัน ผลการวิจัยสรุป ได้ดังนี้ 1) รูปแบบการบริการคลินิกเบาหวาน ประยุกต์ใช้แนวคิดแบบลีนที่ พัฒนาขึ้นมีขั้นตอนการรับบริการลดลงจาก 16ขั้นตอน เหลือ 6 ขั้นตอน มีแนวทางและคู่มือการให้บริการของทีมสุขภาพที่เน้นคุณภาพการบริการมากขึ้น 2) ผู้ป่วยมีความพึงพอใจสูงกว่ารูปแบบเดิมอยาางมีนัยสำคัญทางสถิติที่ ระดับ 0.01โดย (1) ด้านระยะเวลาการใช้บริการลดลงน้อยกว่ารูปแบบเดิม โดยระยะเวลาการใช้บริการที่สั้นที่สุด ลดลงจาก 106 นาที เป็น 47 นาที และระยะเวลาที่ยาวที่สุดลดลงจาก 434 นาที เป็น 168 นาที (2) คุณค่าสายธารการให้บริการตามการรับรู้ของผู้ป่วยสูงกว่ารูปแบบเดิม โดยมีค่าต่ำที่สุดจาก 2.07 % เพิ่มเป็น 10.12 % และค่าสูงสุดจาก 44.34 % เพิ่มเป็น 89.36 % และ (3) คุณภาพการบริการที่มีการลดความสูญเปล่าจากการใช้บริการครั้งแรกสูงกว่ารูปแบบเดิม โดยจาก 29.07 % เพิ่มเป็น 85.02 %th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการบริหารการพยาบาล --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectเบาหวาน--ผู้ป่วย--บริการที่ได้รับth_TH
dc.subjectบริการการพยาบาลของโรงพยาบาลth_TH
dc.titleการพัฒนารูปแบบการบริการคลินิกเบาหวานโดยประยุกต์ใช้แนวคิดแบบลีนโรงพยาบาลศูนย์เจ้าพระยายมราช จังหวัดสุพรรณบุรีth_TH
dc.title.alternativeThe development of a diabetic clinic service model by applying lean concept at Chaoprayayomraj Regional Hospital, Suphan Buri Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาพยาบาลศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research and development were: 1) to develop a diabetic clinic service model by applying lean concept at Chaoprayayomraj Regional Hospital, SuphanBuri Province. 2) to compare the effects of using the developed service model to the previous one as the following aspects: (1) patients’ satisfaction with quality of service, (2) service duration, (3) patient’s value stream (PVS),and (4) first time quality (FTQ). The sample comprised 62 patients who received the diabetic clinic service at the Outpatient Department of Chaoprayayomraj hospital and were selected by purposive sampling. The study process was divided into three phases: 1) pre-development of the new service model, 2) development of the new service model, and 3) application and evaluation of the new model. The instruments consisted of 4 parts : 1) the development of a diabetic clinic service model with applying the lean concept, 2) patients’ satisfaction questionnaires, 3) a record form of service duration in diabetic clinic service, and 4) a digital stopwatch calibrated by standard time of the Public-relations Department. The content validity of the second tool was between 0.5-1.00, and its reliability was 0.96. Research data were analyzed by descriptive statistics (frequency, percentage, mean, standard deviation, median. quartile deviation), and paired t-test. The research findings were as followed. 1) After applying the developed diabetic clinic service model, steps of working was decreased (from 16 to 6 steps). Moreover, guidelines and a manual of the healthcare team performances which focus on providing better quality care were established. 2) Patients’ satisfaction with the new model was significantly higher than the formal one (p< 0.01) as follows. (1) The service duration of the new model was dramatically less than the former model i.e. the shortest duration decreased from 106 minutes to 47 minutes, and the longest one reduced from 434 minutes to 168 minutes. (2) PVS the new model increased more than the formal one with the lowest value from 2.07 % to 10.12 % and the highest from 44.34 % to 89.36 %. (3) FTQ also raised more than the previous one from 29.07 % to 85.02 %.en_US
Appears in Collections:Nurse-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext.pdfเอกสารฉบับเต็ม23.51 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons