Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/3075
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorมนูญ โต๊ะยามาth_TH
dc.contributor.authorกรรณิการ์ ชนากานต์กร, 2519-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-02-06T02:55:57Z-
dc.date.available2023-02-06T02:55:57Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/3075-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศ.ม. (เศรษฐศาสตร์ธุรกิจ)) -- มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2562th_TH
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) สภาพทั่วไปของอุตสาหกรรมบรรจุภัณฑ์กระดาษ 2) ปัจจัยที่มีผลต่อผลิตภาพการผลิตรวม 3) ปัจจัยภายในสถานประกอบการที่ส่งผลต่อนวัตกรรม และ 4) ปัญหาอุปสรรค และข้อเสนอแนะเกี่ยวกับนวัตกรรมต่อการเพิ่มผลิตภาพการผลิตรวมของอุตสาหกรรมบรรจุภัณฑ์กระดาษในประเทศไทย ผลการศึกษาพบว่า 1) อุตสาหกรรมบรรจุภัณฑ์ใน พ.ศ. 2562 มีปริมาณการผลิต จำหน่ายและนำเข้ามีการขยายตัว ร้อยละ 2.42, 1.57 และ 2.78 ตามลำดับ การส่งออกหดตัว ร้อยละ 5.07 ค่าเฉลี่ยผลตอบแทนจากสินทรัพย์รวม ผลตอบแทนจากส่วนของผู้ถือหุ้น และค่าใช้จ่ายการดำเนินงานต่อรายได้รวมของอุตสาหกรรมอยู่ที่ร้อยละ 2.82, 6.76 และ 94.52 ตามลำดับ อุตสาหกรรมมีการพัฒนานวัตกรรมเนื่องจากการเติบโตของธุรกิจออนไลน์ และปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อม 2) ปัจจัยที่มีผลต่อผลิตภาพการผลิตรวม ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ .01 ได้แก่ระดับการใช้นวัตกรรมในกระบวนการผลิตและผลิตภัณฑ์ และที่ระดับนัยสาคัญทางสถิติ .05 ได้แก่ การฝึกอบรมและสถานประกอบการขนาดกลาง ซึ่งมีค่า R2 = 0.863 โดยระดับการใช้นวัตกรรมในกระบวนการผลิตและผลิตภัณฑ์ และการฝึกอบรมมีความสัมพันธ์ทิศทางเดียวกับผลิตภาพการผลิตรวม กิจการขนาดกลางมีผลิตภาพการผลิตรวมสูงกว่ากิจการขนาดเล็ก 3) ผลจากการวิเคราะห์เปรียบเทียบรายคู่ชี้ว่า นโยบาย กลยุทธ์ การบริหารจัดการทัศนคติ และพฤติกรรมของผู้บริหารระดับสูง และการมีส่วนร่วมของผู้บริหารระดับสูงในกิจกรรมพัฒนาเทคโนโลยี มีส่วนสาคัญในการสร้างขีดความสามารถด้านนวัตกรรมและผลิตภาพการผลิต 4) ปัญหาสาคัญของอุตสาหกรรม ได้แก่ต้นทุนการดำเนินงานสูง และขาดแคลนนักวิจัยที่มีแนวคิดเชิงกลยุทธ์ทางธุรกิจ อุปสรรคที่สำคัญ ได้แก่ การพัฒนาความสามารถของบุคลากรให้ทันกับการเปลี่ยนแปลง และการถ่ายทอดความรู้ โดยมีข้อเสนอแนะ ได้แก่ ผู้บริหารระดับสูงควรมีความชัดเจนของนโยบายและกลยุทธ์ การสร้างระบบบริหารจัดการภายในองค์กรที่มีความยืดหยุ่นการสื่อสารให้คนในองค์กรรับรู้เพื่อให้เกิดพฤติกรรมการปฏิบัติที่มีเป้าหมายเดียวกัน และการสร้างความสัมพันธ์ที่ดีและมีการร่วมมือระหว่างพันธมิตรทางธุรกิจในการแลกเปลี่ยนข้อมูลและเทคโนโลยีเพื่อสร้างประโยชน์ทางด้านนวัตกรรมร่วมกันth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ --วิทยานิพนธ์.th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกเศรษฐศาสตร์ธุรกิจ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectอุตสาหกรรมบรรจุภัณฑ์กระดาษ--เทคโนโลยีที่เหมาะสมth_TH
dc.subjectบรรจุภัณฑ์กระดาษ--การผลิตth_TH
dc.titleปัจจัยที่มีผลต่อนวัตกรรมและผลิตภาพการผลิตรวมของอุสาหกรรมบรรจุภัณฑ์กระดาษในประเทศไทยth_TH
dc.title.alternativeFactors affecting innovation and total factor productivity of paper packaging industry in Thailanden_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเศรษฐศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis study aimed to examine: 1) general condition of the paper packaging industry in Thailand; 2) factors affecting total productivity; 3) firms’ internal factors influencing innovation; and 4) problems, obstacles, and suggestions regarding innovation for improving total productivity of the paper packaging industry in Thailand. The study used the primary data collected by questionnaires from 225 samples of the entrepreneurs working in the paper the packaging industry based on the cluster sampling method and in-depth interviews from 19 experts and academic people who were selected by the purposing sampling method. The secondary data were also obtained from relevant agencies. The data were analyzed by the content analysis method, paired comparison analysis , and multiple regression techniques. The research found that 1), in 2019, the packaging industrial production, sale and import were grown by 2.42%, 1.57% and 2.78%, respectively; the export was contracted by 5.07%; an average return on total assets, an average return on equity, and the operating expenses to total industry revenues ratio were 2.82%, 6.76% and 94.52%, respectively; the innovation in the industry has evolved due to the online business growth and the environmental factors, 2) factor affecting total productivity, at .01 statistical significant level, was the level of innovation applied in the production process and product, while at .05 statistical significant level, they were training and firm size, with an adjusted 𝑅2 of 0.863. Levels of innovation used in the production process, product, and training had a positive relationship with total productivity. Medium firms had higher total productivity than the small ones, 3) the result from the pair comparison analysis showed that policy, strategy, management, attitude, senior executive behavior, and participation of senior executive in technological development activity were important for building innovation capability and productivity, 4) the main problems of the industry were the high operation costs and the shortage of the business strategic researchers, whereas the major obstacles were the development of personnel ability in responding to changes and knowledge transfer. The proposed suggestions include an expression of the precise policies and strategies from the top executive, the creation of internal flexible management system, the communication within the organization that encourages the working behaviour towards the same goal, and the building of good relationships and the cooperation among business alliances in exchanging information and technology for deriving mutual innovation benefitsen_US
dc.contributor.coadvisorวสุ สุวรรณวิหคth_TH
Appears in Collections:Econ-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT.pdfเอกสารฉบับเต็ม17 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons