Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/3080
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอนุชา ภูริพันธุ์ภิญโญth_TH
dc.contributor.authorยงยุทธ เสมาใหญ่th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.date.accessioned2023-02-06T03:28:36Z-
dc.date.available2023-02-06T03:28:36Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/3080en_US
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) สภาพทั่วไปของสมาชิกสหกรณ์ 2) ศักยภาพในการชำระหนี้ของสมาชิกสหกรณ์ และ 3) ข้อเสนอแนะในการชำระหนี้ของสมาชิก และสหกรณ์ ประชากรที่ใช้ในการศึกษา คือ สมาชิกสหกรณ์ออมทรัพย์จังหวัดทหารบก กาญจนบุรี จำกด ที่มีหนี้สินกับสหกรณ์ในวันสิ้นปีบัญชี 2556 ทั้งหมด จำนวน 327 ราย ไม่มี การสุ่มตัวอย่าง เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และโลจิทโมเดลใช้ในการทดสอบ สมมติฐาน ผลการศึกษาพบว่า 1) สภาพทั่วไปของสมาชิกสหกรณ์ ส่วนใหญ่เป็นเพศชาย อายุ อยู่ในช่วง 41-50 ปี มีสถานภาพสมรส การศึกษาระดับต่ำกว่าปริญญาตรี และส่วนใหญ่เป็นคน ภาคกลาง และอายุการทำงานที่แตกต่างกัน 2) ศักยภาพในการชำระหนี้ของสมาชิกสหกรณ์ ได้แก่ (1) เงินกู้ประเภทสามัญ ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อศักยภาพในการชำระหนี้เงินกู้ประเภทสามัญ คือ เพศ สถานที่อยู่ รายได้เฉลี่ยต่อเดือน วงเงินที่อนุมัติให้กู้ จำนวนเงินที่ต้องผ่อนชำระ (2) เงินกู้ประเภทฉุกเฉิน ปัจจัยที่สำคัญคือ อายุและอายุการทำงาน และ (3) เงินกู้ประเภทสามัญ และฉุกเฉินรวมกัน ปัจจัยที่สำคัญคือ ระดับการศึกษา 3) ข้อเสนอแนะสหกรณ์ ได้แก่ ควรมีการ ปรับปรุงหลักเกณฑ์การพิจารณาการปล่อยเงินกู้ หลักประกันสำหรับเงินกู้ ลำดับแห่งการให้ เงินกู้ และข้อกำหนดอื่นๆ ควรมีการพยากรณ์ความสามารถในการชำระหนี้ของสมาชิกจาก แบบจำลองที่ได้ทำการศึกษาแล้ว ควรมีการจัดทำลำดับชั้นความสามารถในการชำระหนี้ และ ควรมีการตรวจสอบสถานการณ์การกู้เงินของสมาชิกจากศูนย์ข้อมูลเครดิตกลาง หรือแหล่งกู้ยืม เงินต่างๆth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสหกรณ์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectการชำระหนี้--ไทย--กาญจนบุรีth_TH
dc.titleศักยภาพในการชำระหนี้ของสมาชิกสหกรณ์ออมทรัพย์จังหวัดทหารบกกาญจนบุรี จำกัดth_TH
dc.title.alternativeDebt payment potential of the members of Kanchanaburi Military District Saving and Credit Cooperative Limiteden_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (สหกรณ์)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were to study 1) general backgrounds of members of the cooperatives, 2) debt payment potential of members of the cooperatives, and 3) suggestions on the debt payment of members and the cooperatives. The population in the study was the members of Kanchanaburi Military District Saving and Credit Cooperative Limited who were in debt to the cooperatives until the end of the year 2013 accounting for 327 members with no sample selection. The data were collected by using questionnaire. The statistics for data analysis were frequency, percentage, mean, and standard deviation, logistic model was used for hypothesis testing. The results of the study were found that 1) general conditions of the members, the majority of them were male with the age ranging from 41 to 50 years, and were married. The level of education was lower than a bachelor’s degree. Their birthplaces were in the central region. They had different working experiences. 2) The debt payment potential of the members; (1) ordinary loan type, the factors influenced debt payment were gender, residential location, income per month, approval limited loan, and amount of repayment; (2) emergency loan type, the important factors were age and years of working experience; (3) the combination of ordinary and emergency loans, the important factor was level of education of the members. 3) In terms of suggestions, the cooperatives should improve rules and regulations for loan consideration, loan guarantees, loan priority, and other requirements. The cooperatives should have a study to make a predicting model of the member’s ability in debt payment. The cooperatives should arrange the priority of debt payment ability of the members. Furthermore, the cooperatives should have a system for checking debt situations of the members by using the information f the Central Credit Information Center or other sources of loans, etc.en_US
Appears in Collections:Agri-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
140939.pdfเอกสารฉบับเต็ม14.63 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons