Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/3088
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สำอาง สืบสมาน | th_TH |
dc.contributor.author | ทิพย์สุวรรณ เขียวพุ่มพวง, 2538- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-02-06T07:50:37Z | - |
dc.date.available | 2023-02-06T07:50:37Z | - |
dc.date.issued | 2562 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/3088 | en_US |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วท.ม. (การจัดการระบบอาหารเพื่อโภชนาการ))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2562 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) พัฒนาโปรแกรมส่งเสริมสุขภาพตามหลักธรรมานามัย (2) ศึกษาระดับความรู้ การปฏิบัติเกี่ยวกับหลักธรรมานามัย และระดับคุณภาพชีวิต และ (3) เปรียบเทียบความรู้ การปฏิบัติเกี่ยวกับหลักธรรมานามัย และระดับคุณภาพชีวิต ก่อนและหลังเข้าร่วมโปรแกรมฯ ของผู้สูงอายุในชมรมผู้สูงอายุเทศบาลเมืองหนองปรือ จังหวัดชลบุรี ผลการวิจัย พบว่า (1) โปรแกรมส่งเสริมสุขภาพตามหลักธรรมานามัยมีความเหมาะสมกับผู้สูงอายุในชมรมผู้สูงอายุเทศบาลเมืองหนองปรือ (2) ก่อนเข้าร่วมโปรแกรมฯ มีคะแนนเฉลี่ยด้านความรู้ และการปฏิบัติเกี่ยวกับหลักธรรมานามัยอยู่ในระดับปานกลาง ส่วนคุณภาพชีวิตอยู่ในระดับมาก หลังเข้าร่วมโปรแกรมฯ คะแนนเฉลี่ยความรู้เพิ่มขึ้นเป็ นระดับมาก การปฏิบัติเกี่ยวกับหลักธรรมานามัย และคุณภาพชีวิตเพิ่มเป็นระดับมากที่สุด และ (3) การเปรียบเทียบก่อน และหลังเข้าร่วมโปรแกรมฯ พบว่า คะแนนความรู้และการปฏิบัติเกี่ยวกับหลักธรรมานามัย และระดับคุณภาพชีวิตเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสา คัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชามนุษยนิเวศศาสตร์--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกการจัดการระบบอาหารเพื่อโภชนาการ--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | ผู้สูงอายุ--การดูแล--คุณภาพ | th_TH |
dc.subject | การส่งเสริมสุขภาพ | th_TH |
dc.subject | คุณภาพชีวิต--แง่สุขภาพ | th_TH |
dc.title | ผลของโปรแกรมส่งเสริมสุขภาพตามหลักธรรมานานัยต่อคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในชมรมผู้สูงอายุเทศบาลเมืองหนองปรือ จังหวัดชลบุรี | th_TH |
dc.title.alternative | Effect of the Dhammanamai health promotion program on quality of life of the elderly in Nong Prue municipality elderly club, Chon Buri Province | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชามนุษยนิเวศศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | This study aimed: (1) to develop a Dhammanamai health promotion program; (2) to study knowledge, practices on a Dhammanamai discipline and quality of life; and (3) to compare knowledge, practice on a Dhammanamai discipline and quality of life before and after attending the program among the elderly in Nong-Prue municipality elderly club, Chonburi Province. This was a quasi-experimental one group pre and post-test research. Thirty-five elderly were randomly selected from 632 members of the elderly club to attend the program for 8 weeks continuously. Instruments included questionnaire, quality of life assessment form (WHOQOL - BREF - THAI) and a Dhammanamai Health Promotion Program (meditation, Thai Hermit exercise, and diet according to life elements) Statistics used were frequency, means, standard deviations and paired t-test. The results of the study revealed that: (1) the Dhammanamai health promotion program was appropriate for the elderly in Nong-Prue municipality elderly club; (2) before attending the program, averages knowledge of Dhammanamai discipline, and practice on that discipline were at the moderate level, and quality of life was at the high level. After attending the program, the average knowledge was increased to the high level, and practice on the discipline and quality of life were at the highest level; and (3) comparing before and after attending the program, knowledge, practice, and quality of life were significantly increased (p< 0.05) | en_US |
dc.contributor.coadvisor | วศินา จันทรศิริ | th_TH |
Appears in Collections: | Hum-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
FULLTEXT.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 20.16 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License