Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/3089
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอนุชา ภูริพันธ์ภิญโญ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorเยาวลักษณ์ จิระโต-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.date.accessioned2023-02-06T07:59:44Z-
dc.date.available2023-02-06T07:59:44Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/3089-
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าอิสระครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาปัจจัยส่วนบุคคลของเกษตรกรกลุ่ม เกษตรกรรมทางเลือกและกลุ่มเกษตรกรรมเชิงพาณิชย์ 2) ศึกษาด้านความรู้ความเข้าใจด้านเกษตรกรรมทางเลือก 3) เพื่อศึกษาเปรียบเทียบพฤติกรรมการทำการเกษตรกรรมของกลุ่มเกษตรกรรมทางเลือก กับกลุ่มเกษตรกรรมเชิง พาณิชย์ 4) เพื่อเปรียบเทียบความสัมพันธ์ด้านความรู้ ความเข้าใจ ด้านเกษตรกรรมทางเลือกตามแนวคิดเศรษฐกิจ พอเพียง การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยใช้แบบสอบถามแบบสัมภาษณ์เก็บรวบรวมข้อมูลกับกลุ่ม เกษตรกรรมทางเลือกของหมู่บ้านงิ้วเฒ่า จำนวน 15 คน กลุ่มเกษตรกรที่ทำการเกษตรเชิงพาณิชย์ จำนวน 40 คน โดย ใช้แบบสอบถามในการเก็บรวบรวมข้อมูลกับผู้อาวุโส การวิเคราะห์ข้อมูล โดยใช้สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติอ้างอิง ได้แก่การทดสอบความสัมพันธ์ โดยใช้ Pearson Correlation Matrix ผลการศึกษาพบว่า 1.) พฤติกรรมการทำการเกษตรของเกษตรกร พบว่าเกษตรกรในชุมชนบ้านงิ้ว เฒ่า แม้ส่วนใหญ่ในชุมชนยังทำการเกษตรเชิงพาณิชย์เป็นหลัก แต่ก็เรียนรู้ที่จะเปลี่ยนพฤติกรรมการทำการเกษตร แบบใหม่ โดยใช้ทั้งปุ๋ยอินทรีย์ ปุ๋ยน้ำหมัก เข้ามาช่วยลดต้นทุนในการผลิต 2.) กลุ่มเกษตรกรในชุมชนที่ทำการ ผลิตรูปแบบเกษตรกรรมทางเลือก มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการเกษตรกรรมทางเลือกตามแนวคิดเศรษฐกิจ พอเพียงในระดับค่อนข้างมาก ขณะที่กลุ่มเกษตรกรที่ยึดรูปแบบการเกษตรเชิงพาณิชย์ มีความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับการเกษตรกรรมทางเลือกตามแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงในระดับน้อยกว่า อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ ระดับ 0.001 3.) กลุ่มเกษตรกรในชุมชนที่ทำการผลิตรูปแบบเกษตรกรรมทางเลือกตามแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง และกลุ่มเกษตรกรที่ยึดรูปแบบการเกษตรเชิงพาณิชย์มีพฤติกรรมการทำการเกษตร แตกต่างกันผลการวิเคราะห์ พบว่า กลุ่มเกษตรกรในชุมชนที่ทำการผลิตรูปแบบเกษตรกรรมทางเลือกกับกลุ่มเกษตรกรที่ยึดรูปแบบการเกษตร เชิงพาณิชย์ มีวิธีคิดและกระบวนการเรียนรู้ใหม่เกี่ยวกับแนวความคิดทฤษฎีใหม่ทางการเกษตรแตกต่างกัน (t = 22.465, P < .001 ) 4.) ปัจจัยด้านความรู้ความเข้าใจ มีความสัมพันธ์ทางบวกกับพฤติกรรมการทำเกษตรกรรม ทางเลือกตามแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงของเกษตรกรในชุมชน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสหกรณ์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectเกษตรกรรมทางเลือกth_TH
dc.subjectเกษตรกรรม--แง่เศรษฐกิจ--ไทย--เชียงใหม่th_TH
dc.titleการเปรียบเทียบพฤติกรรมการทำการเกษตรระหว่างกลุ่มเกษตรกรรมทางเลือกกับกลุ่มเกษตรกรรมเชิงพาณิชย์ : กรณีศึกษาบ้านงิ้วเฒ่า อำเภอสะเมิง จังหวัดเชียงใหม่th_TH
dc.title.alternativeAdjustment of farmers toward alternative agriculture in line with the sufficiency economy guiding principle : a case study of Ban Ngiu Thao, Samoeng District, Chiang Mai Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (สหกรณ์)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe study objectives were 1) to study the individual factor of farmers of alternative farming and farmers of commercial farming 2) to study the knowledge and understanding of alternative farming 3) to study the comparison of behavior of farmers between alternative and commercial farming. 4) to compare the knowledge, understanding of alternative farming following the philosophy of Sufficiency Economy. The study methodology was conducted by qualitative. Data collecting was conducted by questionnaire f 15 farmers of alternative farming and 40 farmers of commercial farming of Nguan Toa Village as sample size. The questionnaire was asked senior citizen in the village, the descriptive statistics was applied such as frequency, percentage, and standard deviation. Inferential statistics was applied also for the data analysis such as the Pearson correlation matrix. The study showed that 1) the majority of farmers in Nguan Toa Village still preferred the commercial farming rather than alternative farming but they had still learned the concepts of alternative farming by changing the commercial farming to alternative farming as their choice such as they performed the organic farming, organic fertilizer in order to reduce the production cost, 2) the study showed that the farmers in the way of alternative farming understood the concepts of sufficiency economy, the study also exhibited that farmers in alternative faming and alternative farming got the different understanding the concepts of new theory of farming differently (t = 22.465, P < .001 ) 3) the concepts of alternatives farming had the positive correlation with the philosophy of sufficiency economyen_US
Appears in Collections:Agri-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
130324.pdfเอกสารฉบับเต็ม11.58 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons