กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/3099
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorอารี ชีวเกษมสุขth_TH
dc.contributor.authorชนิดาภา มิ่งมูล, 2520-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-02-07T03:35:27Z-
dc.date.available2023-02-07T03:35:27Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/3099en_US
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม. (การบริหารการพยาบาล))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2562th_TH
dc.description.abstractการวิจัยเชิงพรรณนาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ปัจจัยส่วนบุคคล ทุนจิตวิทยาเชิงบวก และสภาพแวดล้อมการปฏิบัติงานที่ดีของพยาบาลวิชาชีพเจนเนอเรชั่นวาย โรงพยาบาลของรัฐแห่งหนึ่ง จังหวัดอุบลราชธานี และ 2) ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ทุนจิตวิทยาเชิงบวกกับสภาพแวดล้อมการปฏิบัติงานที่ดีของพยาบาลวิชาชีพเจนเนอเรชั้นวาย ผลการวิจัยพบว่า 1) พยาบาลวิชาชีพเจนเนอเรชั้นวายส่วนใหญ่มีระยะเวลาในการปฏิบัติงาน 1-5 ปี (ร้อยละ 53.5) และจำนวนชั่วโมงการปฏิบัติงานในหนึ่งสัปดาห์มากกว่า 48 ชั่วโมง (ร้อยละ 88.4%) ส่วนทุนจิตวิทยาเชิงบวกค่าเฉลี่ยโดยรวมอยู่ในระดับสูงที่สุด (มัธยฐานเท่ากับ 4.59) และสภาพแวดล้อมการปฏิบัติงานที่ดีมีค่าเฉลี่ยโดยรวมอยู่ในระดับสูง (มัธยฐานเท่ากับ 4.37) 2) จำนวนชั่วโมงการปฏิบัติงานในหนึ่งสัปดาห์และทุนจิตวิทยาเชิงบวกมีความสัมพันธ์ทางบวกระดับปานกลางกับสิ่งแวดล้อมการปฏิบัติงานที่ดอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001 แต่ระยะเวลาในการปฏิบัติงานพยาบาลวิชาชีพไม่มีความสัมพันธ์กับสภาพแวดล้อมการปฏิบังานที่ดีของพยาบาล่วิชาชีพเจนเนอเรชั้นวายth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการบริหารการพยาบาล--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectการจำแนกประเภทบุคคล (จิตวิทยา)th_TH
dc.subjectจิตวิทยาเชิงบวกth_TH
dc.subjectจิตวิทยาปัจเจกบุคคลth_TH
dc.subjectพยาบาลวิชาชีพth_TH
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ทุนจิตวิทยาเชิงบวกกับสภาพแวดล้อมการปฏิบัติงานที่ดีของพยาบาล่วิชาชีพเจนเนอเรชั้นวายโรงพยาบาล่รัฐแห่งหนึ่ง จังหวัดอุบลราชธานีth_TH
dc.title.alternativeRelationships between personal factors, positive psychological capital, and positive practice environment of Generation Y professional nurses at a Public Hospital, Ubon Ratchathani Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาพยาบาลศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this descriptive study were 1) to investigate personal factors, positive psychological capital, and the positive practice environment of Generation Y professional nurses at a Public Hospital, Ubon Ratchathani Province; and 2) to explore the correlation among their personal factors, positive psychological capital, and positive practice environment. The sample comprised 129 registered Generation Y aged nurses who worked at a public hospital in Ubon Ratchathani Province. They were selected by simple random sampling. Research tools comprised questionnaires with 3 parts including 1) personal factors, 2) positive psychological capital, and 3) positive practice environment. The tools were tested for content validity. The reliabilities of the second and the third sections were .92 and .96 respectively. Data were analyzed by descriptive statistics, and Spearman rank correlation coefficient. The major findings were as follows. 1) Job duration of generation Y professional nurses was mostly 1-5 years (53.5%), and working hours per week was more than 48 hours (88.4%). Positive psychological capital was rated at the highest level ( meadian = 4.59), and positive practice environment was rated at high level (meadian = 4.37). 2) Working hours per week and positive psychological capital were significantly and moderately positively related to positive practice environment at the level .001. However, job duration was not related to positive practice environment.en_US
dc.contributor.coadvisorเปรมฤทัย น้อยหมื่นไวยth_TH
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:Nurse-Theses

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
FULLTEXT.pdfเอกสารฉบับเต็ม13.34 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการนี้ได้รับอนุญาตภายใต้ Creative Commons License Creative Commons