Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/3114
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุนันท์ สีสังข์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorจินดา ขสิบทอง, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorณัฐวุฒิ เชื้อเมืองพาน, 2517--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-02-07T08:10:14Z-
dc.date.available2023-02-07T08:10:14Z-
dc.date.issued2557-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/3114-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (กษ.ม. (ส่งเสริมการเกษตร))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2557th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) สภาพทางสังคมและเศรษฐกิจของเกษตรกร (2) ความของเกษตรกรเกี่ยวกับการผลิตมะม่วงคุณภาพ (3) ความคิดเห็นของเกษตรกรเกี่ยวกับการผลิตมะม่วงคุณภาพ (4) การปฏึน์ติของเกษตรกรเกี่ยวกับการผลิตมะม่วงคุณภาพ (5) เปรียบเทียบความรู้ ความคิดเห็น และการปฎิบัติของเกษตรกรเกี่ยวกับการผลิตมะม่วงคุณภาพ และ(6) ปัญหาและข้อเสนอแนะของเกษตรกรเกี่ยวกับการผลิตมะม่วงคุณภาพ ผลการวิจัยพบว่า (1) เกษตรกรที่ไต้รับใบรับรองแปลง (GAP) มะม่วง ส่วนใหญ่เป็นเพศชาย รอายเฉลี่ย 50.41 ปี จบการศึกษาระดับชั้นประถมศึกษา แรงงานในครัวเรือนต้านการเกษตรเฉลี่ย 3 คน มีพื้นที่หาสวนมะม่วงเฉลี่ย 25.22 ไร่ รายได้รวมทั้งหมดของครัวเรือนเฉลี่ย 503,548.18 บาทต่อปี รายจ่ายรวมภาคการเกษตรเฉลี่ย 136,378.83บาทต่อปี ส่วนเกษตรกรผู้ผลิตมะม่วงทั่วไป ส่วนใหญ่เป็นเพศชาย อายุเฉลี่ย 50.31 ปี จบการศึกษาระดับประถมศึกษา แรงงานในครัวเรือนด้านการเกษตรเฉลี่ย 3 คน รายได้ทั้งหมดของครัวเรือนเฉลี่ย 416,819.46 บาทต่อปี รายจ่ายในภาคการเกษตรทั้งหมดของครัวเรือนเฉลี่ย 132,783.78 บาทต่อปี พื้นที่ทำสวนมะม่วงเฉลี่ย 18.50 ไร่ (2) ความรู้เกี่ยวกับคุณภาพตามมาตรฐานการส่งออกมะม่วง เกษตรกรทั้งสองกลุ่ม ส่วนใหญ่ความรู้ในเรี่องลักษณะดินที่เหมาะสมในการปลูกมะม่วง การดูแลรักษาและปรับปรุงคุณภาพผลผลิต และการใช้อุปกรณ์ในการเก็บเกี่ยวมะม่วง ส่วนความรู้ทางด้านอี่นเกษตรกรมีความรู้ในจำนวนที่ไม่มากนัก (3) เกษตรกรที่ได้รับใบรับรองแปลง (GAP) มะม่วงมีความเห็นในประเด็นต่าง ๆ ส่วนใหญ่อยู่ในระดับมากที่สุค บางประเด็นอยู่ในระดับมาก ส่วนเกษตรกรทั่วไป ส่วนใหญ่มีความคิดเห็นอยู่ในระดับมากและบางประเด็นในระดับปานกลาง (4) เกษตรกรส่วนใหญ่ของทั้งสองกลุ่มปฎิบัติตามข้อกำหนดของมาตรฐานการส่งออก ยกเว้น ประเด็นเดียวคือการเก็บตัวอย่างน้ำไปวิเคราะห์ทำการปนเปื้อนสารเคมี ชี่งยังมีเกษตรกรจำนวนไม่น้อยไม่ปฎิบัติ (5) เกษตรกรที่ได้รับใบรับรองแปลง (GAP) มะม่วงมีรายได้สูงกว่าเกษตรกรทั่วไป เกษตรกรทั้งสองกคุ่มมีความลิดเห็นที่แตกต่างกันทางสถิติเกือบทุกประเด็นเกี่ยวกับการผลิตมะม่วงตามมาตรฐานการส่งออก (6) เกษตรกรทั้งสองกคุ่มมีป็ญหามากในเรื่องสภาพอากาศแปรปรวนและต้นทุนการผลิตมีแนวโน้มสูงขี่เน จึงเสนอแนะให้รัฐควบคุมราคาปัจจัยการผลิต และให้ความรู้ความเข้าใจในระบบ กระบวนการชั้นตอน ข้อกำหนดของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องแก่กลุ่มเกษตรกร เพื่อได้มาตรฐานการส่งออกth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2013.120-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาส่งเสริมการเกษตร --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมะม่วง--ไทย--มาตรฐานการผลิตth_TH
dc.subjectมะม่วง--การผลิตth_TH
dc.subjectมะม่วง--ไทย--พิจิตรth_TH
dc.titleการผลิตมะม่วงเพื่อคุณภาพตามมาตรฐานส่งออกของเกษตรกรในอำเภอสากเหล็ก จังหวัดพิจิตรth_TH
dc.title.alternativeQuality mango production adhering to export standardization in Sak lek District of Phichit Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2013.120-
dc.degree.nameเกษตรศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
Appears in Collections:Agri-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
146101.pdfเอกสารฉบับเต็ม36.49 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons