Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/3129
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเฉลิมศักดิ์ ตุ้มหิรัญ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorสุนันท์ สีสังข์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorทองสา ทองหนองยาง, 2525--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-02-09T07:08:47Z-
dc.date.available2023-02-09T07:08:47Z-
dc.date.issued2557-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/3129-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (กษ.ม. (ส่งเสริมการเกษตร))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2557th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) สภาพทางสังคมและเศรษฐกิจของกรรมการศูนย์จัดการศัตรูพืชชุมชน (2) ความรู้ของกรรมการเกี่ยวกับศูนย์จัดการศัตรูพืชชุมชน (3) การดำเนินงานของศูนย์จัดการศัตรูพืชชุมชน (4) ปัญหาในการดำเนินงานของศูนย์จัดการศัตรูพืชชุมชน (5) ความต้องการการส่งเสริมการเกษตรเพื่อพัฒนาการดำเนินงานศูนย์จัดการศัตรูพืชชุมชน (6) เปรียบเทียบปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาการดำเนินงานศูนย์จัดการพืชชุมชนที่มีชนิดพืชหลักที่แตกต่างกันผลการวิจัยพบว่า (1) ประธานและกรรมการที่ให้ข้อมูลส่วนใหญ่เป็นเพศชาย อายุเฉลี่ย 58.1 ปี สถานภาพสมรส จบชั้นประถมศึกษา ส่วนใหญ่ได้รับความรู้ข่าวสารทางการเกษตรจากเจ้าหน้าที่ภาครัฐ (2) กรรมการส่วนใหญ่มีความรู้เรื่องศูนย์จัดการศัตรูพืชชุมชนระดับมาก (3) ศูนย์จัดการศัตรูพืชชุมชนเกือบทั้งหมดมีการดำเนินงานด้านสถานที่ตั้ง สมาชิก การจัดทำแปลงติดตามสถานการณ์ศัตรูพืช การบริหารจัดการและการบูรณาการการดำเนินงาน (4) ศูนย์จัดการศัตรูพืชชุมชนมีปัญหาระดับปานกลางในทุกด้าน (5) ศูนย์จัดการศัตรูพืชชุมชนมีความต้องการการส่งเสริมการเกษตรเพื่อการพัฒนาการดำเนินงานศูนย์จัดการศัตรูพืชชุมชนในระดับมากเกี่ยวกับเรื่องเทคนิคการถ่ายทอดเทคโนโลยีการติดตามสถานการณ์ศัตรูพืช การวินิจฉัยศัตรูพืช การจัดการศัตรูพืชโดยวิธีผสมผสาน การผลิตและขยายศัตรูธรรมชาติ การเยี่ยมไร่นา การศึกษาดูงาน และการสาธิต นอกจากนี้ (6) ศูนย์จัดการศัตรูพืชชุมชนมีแต่ละกลุ่มพืชหลักมีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติในปัจจัยที่มีต่อการพัฒนาการดำเนินงานในเรื่อง รายได้ รายจ่ายภาคการเกษตร รายได้รวม ปัญหาสถานที่ตั้งศูนย์การบูรณาการการประชาสัมพันธ์ ความต้องการความรู้เรื่องการจัดการศัตรูพืชโดยวิธีผสมผสาน และแบบครอบคลุมพื้นที่th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2014.242-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาส่งเสริมการเกษตร --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectศูนย์จัดการศัตรูพืชชุมชน--ไทย--ราชบุรีth_TH
dc.titleการพัฒนาการดำเนินงานศูนย์จัดการศัตรูพืชชุมชนในจังหวัดราชบุรีth_TH
dc.title.alternativeOperational development of Community Pest Management Centers in Ratchaburi Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2014.242-
dc.degree.nameเกษตรศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to study (1) socio-economic status of the members of community pest management centers, (2) knowledge of the committees on the community pest management center, (3) the operations of community pest management centers, (4) operational problems of community pest management centers, (5) agricultural extension needs for development of community pest management centers, and (6) developmental comparisons of the community pest management centers in the differences of main crops. The research population was a number of 89 Community Pest Management Centers in Ratchaburi Province. Out of 73 centers were selected as samples comprising chairperson and a committee member from each center, totally 146 persons as informants. The data were collected by interviewing method and analyzed by using computerized program. Frequency, percentage, minimum value, maximum value, mean, standard deviation, ranking and analysis of variance were employed. Findings from the study were as follows. (1) Most of chairpersons and committee members were male. The average age was 58.1 years. They were married and completed primary education. They mostly learned agricultural updated news from government officers. (2) They had knowledge on the community pest management center at high level. (3) Almost all of community pest management centers had operated the centers in these aspects, such as location, member, observed plot of pest situation, management, and operational integration. (4) Community pest management centers faced problems at medium level. (5) The agricultural extension needs for operational development were found at high level including technology transfer, observed pest situation, pest diagnosis, integrated pest management, natural enemy production and expansion, farm visit, study visit, and demonstration. Hence, (6) there were statistical significant differences of the factors for operational development of different main crop groups of pest management centers, these were income, agricultural cost, total income, location problem of the center, integration, public relations, and knowledge needs in integrated pest management and area covering.en_US
Appears in Collections:Agri-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
146156.pdfเอกสารฉบับเต็ม17.89 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons