Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/3130
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพงศ์พันธุ์ เธียรหิรัญ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorลัดดา พิศาลบุตร, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorฉัตรดาว สารพา, 2522--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-02-09T07:18:37Z-
dc.date.available2023-02-09T07:18:37Z-
dc.date.issued2557-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/3130-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (กษ.ม. (การจัดการการเกษตร))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2557th_TH
dc.description.abstractการวิจัยเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์คือ 1) เพื่อศึกษาพฤติกรรมการใช้ใบยางอินเดียของร้านจำหน่ายพวงหรีด 2) เพื่อวัดระดับความพึงพอใจต่อใบยางอินเดียของร้านจำหน่ายพวงหรีด 3) เพื่อศึกษาความคิดเห็นเกี่ยวกับระดับปัญหาในการผลิตใบยางอินเดียของเกษตรกร 4) เพื่อหาความสัมพันธ์ระหว่างประเภทการจัดจำหน่ายพวงหรีดกับความพึงพอใจที่มีต่อใบยางอินเดีย และ5) เพื่อเสนอแนะแนวทางในการพัฒนาการผลิตใบยางอินเดียของเกษตรกรเพิ่อตอบสนองต่อความต้องการของร้านจำหน่ายพวงหรีดในเขตกรุงเทพมหานคร ผลการวิจัยพบว่า 1) ร้านจำหน่ายพวงหรีดมีการซื้อใบยางจากเกษตรกรโดยตรง เป็นส่วนใหญ่ และมีคนกลางมาส่งที่ร้าน ร้านจำหน่ายพวงหรีด จะซื้อใบยางอินเดียมากกว่า 5 ครั้งต่อเดือน ร้านจำหน่ายพวงหรีดต้องการใบขนาดกลาง ลักษณะของใบยางอินเดียที่ต้องการมากที่สุด ใบต้องสีเขียวเข้ม การเก็บรักษาใบยางอินเดีย ไม่มีอุปกรณ์ในการเก็บรักษา 2) ความพึงพอใจของร้านจำหน่ายพวงหรีดโดยรวม อยู่ในระดับค่อนข้างมาก โดยที่มีความพึงพอใจต่อความสดใหม่ของใบยางอินเดียมากที่สุด และมีความพึงพอใจต่อการซื้อใบยางอินเดียช่องทางออนไลน์น้อยที่สุด 3) ความคิดเห็นเกี่ยวกับระดับปัญหาในการผลิตใบยางของเกษตรกรโดยรวม อยู่ในระดับค่อนข้างน้อย มีปัญหาด้านการหาลูกค้ามากที่สุด 4) เปรียบเทียบความพึงพอใจร้านจำหน่ายพวงหรีดดอกไม้สด กับร้านจำหน่ายพวงหรีดแบบอื่น ไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ ส่วนความสัมพันธ์ระหว่างประเภทของร้านจำหน่ายพวงหรีดและความพึงพอใจของร้านจำหน่ายพวงหรีดต่อใบยางอินเดีย พบว่าร้านจำหน่ายพวงหรีดดอกไม้สดอย่างเดียวและร้านจำหน่ายพวงหรีดและรับจัดดอกไม้รูปแบบอื่นมีความพอใจต่อใบยางอินเดียไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ 5) ข้อเสนอแนะสำหรับเกษตรกร ต้องดูแลและผลิตใบยางอินเดียที่มีสีเขียวเข้มไม่มีตาหนิ และเก็บบ่อยครั้งเนื่องจากร้านดอกไม้สั่งซื้อทีละน้อยแต่บ่อยครั้งth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2014.160-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการจัดการการเกษตร --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectพวงหรีดth_TH
dc.subjectใบยางอินเดีย--การผลิตth_TH
dc.titleแนวทางการพัฒนาการผลิตใบยางอินเดียของเกษตรกรเพื่อตอบสนองความต้องการของร้านจำหน่ายพวงหรีดในเขตกรุงเทพมหานครth_TH
dc.title.alternativeDevelopment guidelines in India rubber leaf production for wreath shop demand in Bangkok Metropolisen_US
dc.typeThesisen_US
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2014.160-
dc.degree.nameเกษตรศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to study 1) the behavior of wreath shop owners in utilizing India rubber leaves; 2) their level of satisfaction with the India rubber leaves supplied; 3) the opinions of farmers about problems in the production of India rubber leaves; 4) the relationship between the distribution management of wreath shops and their satisfaction with India rubber leaves; and 5) guidelines for the development of India rubber leaf production. The study was a survey research, the study population was the wreath shops nearby famous temples in the Bangkok Metropolis and India rubber leaf growners, out of which a sample size was selected of 40 wreath shops and 6 growers. Data were collected by using a questionairs and analysed by using description statistics: mean, percentage and standard deviation, and inferentail statistics: t-test and chi-square. The results showed that: 1) the wreath shops bought India rubber leaves directly from farmers and bought them from middlemen the majority of wreath shops bought India rubber leaf over 5 times per month. Wreath shops mainly required medium sized leaves, and most wanted leaves that were dark green. The wreath shops did not have leaf storage equipment 2) The satisfaction of wreath shop owners with the India rubber leaves was average relatively high, They were, most satisfied with the freshness of the India rubber leaves supplied, and least satisfied with online market channels. 3) The growers reported an average level of problems India rubber leaf production was relatively low and most of the problems occurred from customers. 4) The hypothesis testing revealed no statistical different in satisfaction of different type of wreath shop and no statistically significant relationship between type of wreath shop and satisfaction with India rubber leaves. 5) Suggested guidelines for farmers growing India rubber leaf were to produce dark green leaves without blemishes, and to collect the leaves more frequently.en_US
Appears in Collections:Agri-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
146175.pdfเอกสารฉบับเต็ม11.17 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons