Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/3133
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | เบญจมาศ อยู่ประเสริฐ, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.advisor | จินดา ขลิบทอง, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.author | ฤทัยรัตน์ สงฆ์สระน้อย, 2517- | - |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-02-09T07:49:32Z | - |
dc.date.available | 2023-02-09T07:49:32Z | - |
dc.date.issued | 2557 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/3133 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (กษ.ม. (ส่งเสริมการเกษตร))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2557 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษากลุ่มวิสาหกิจชุมชนที่ใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นในการแปรรูปผลิตภัณฑ์จากข้าวเกี่ยวกับ 1) บริบทกลุ่ม 2) องค์ความรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่นการแปรรูปผลิตภัณฑ์จากข้าว 3) กระบวนการจัดการความรู้ และ4) เงื่อนไขที่เอื้อต่อความสำเร็จในการจัดการความรู้ ผลการวิจัยพบว่า 1) สมาชิกวิสาหกิจชุมชนเกือบทั้งหมดเป็นเพศหญิง อายุเฉลี่ย 56.14 ปี เกือบทั้งหมดมีภูมิลำเนาอยู่ในจังหวัดนครราชสีมา ส่วนใหญ่จบการศึกษาระดับประถมศึกษา อาชีพหลักเป็นเกษตรกร อาชีพเสริมคือทำเส้นหมี่โคราช รายได้จากกิจกรรมทำเส้นหมี่โคราชเฉลี่ย 2,038 บาท ประสบการณ์ในการทำหมี่โคราชเฉลี่ย 19.95 ปี 2) ความรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น แบ่งออกเป็น 2 ลักษณะ คือความรู้จากภูมิปัญญาท้องถิ่นดั้งเดิม และความรู้ใหม่ที่พัฒนาต่อยอดจากภูมิปัญญาท้องถิ่นเดิม เพื่อให้สอดคล้องกับบริบททางสังคมที่เปลื่ยนไป พบการประยุกต์ภูมิปัญญาเป็น 2 ลักษณะคือการพัฒนาในเรื่องของเครื่องมือที่ใช้ในการผลิต และการพัฒนารูปแบบของผลิตภัณฑ์ 3) กระบวนการจัดการความรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่นการแปรรูปผลิตภัณฑ์จากข้าวเป็นเส้นหมี่โคราชมี 6 ขั้นตอนหลักได้แก่ (1) การกำหนดความรู้จากความต้องการสืบสานภูมิปัญญาท้องถิ่น ความรู้ที่กำหนดเป็นความรู้ที่ต้องใช้ในการผลิตเส้นหมี่โคราช (2) การแสวงหาความรู้เพื่อจะนำมาผลิตและปรับปรุงผลิตภัณฑ์ ทั้งจากภายในและภายนอกกลุ่มโดยเน้นที่การแสวงหาความรู้จากภายในี้เป็นหลัก (3) การแลกเปลี่ยนความรู้อย่างไม่เป็นทางการผ่านการทำกิจกรรมต่าง ๆ ของกลุ่ม (4) การจัดเก็บความรู้ เก็บไว้ในตัวบุคคลโดยใช้วิธีการจดจำ (5) การถ่ายทอดความรู้ เป็นการถ่ายทอดระหว่าง บุคคลสู่บุคคล ส่วนใหญ่ถ่ายทอดความรู้ให้กับลูกหลานในครัวเรือนด้วยวิธีการบอกเลา และ (6) การนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ ในลักษณะของการพัฒนารูปแบบของสินค้าให้หลากหลายมากขึ้น 4) เงื่อนไขที่เอื้อต่อความสำเร็จในการจัดการความรู้มี 4 ด้าน คือ (1) วัฒนธรรมีองค์กร เป็นวัฒนธรรมแบบครอบครัว (2) ภาวะผู้นำ คือผู้นำที่มีการกระตุ้นทางปัญญา (3) โครงสร้างพื้นฐานที่สำคัญ ได้แก่ การสนับสนุนจากหน่วยงานภาครัฐและการประสานงานภายในกลุ่ม และ (4) เทคโนโลยีสารสนเทศ ได้แก่ โทรศัพท์มือถือ และกล้องถ่ายรูป | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.relation.uri | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2014.147 | - |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์ --วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาส่งเสริมการเกษตร --วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | ข้าว--การแปรรูป--ไทย--นครราชสีมา | th_TH |
dc.subject | ภูมิปัญญาชาวบ้าน--ไทย--นครราชสีมา | th_TH |
dc.title | การจัดการความรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่นในการแปรรูปผลิตภัณฑ์จากข้าวของวิสาหกิจชุมชนในจังหวัดนครราชสีมา | th_TH |
dc.title.alternative | Knowledge management of local wisdom for rice processing by community enterprises in Nakhon Ratchasima Province | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.identifier.DOI | 10.14457/STOU.the.2014.147 | - |
dc.degree.name | เกษตรศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this research were to study community enterprise group using local wisdom in the processing rice products in the followings: 1) the context, (2) body of knowledge of local wisdom for processing of rice products, (3) process of knowledge management, and (4) the beneficial condition to the success in knowledge management. The sample in this study included the community enterprise community in Nakhon Ratchasima Province, having production activity of Korat rice noodles under manual production process by using labors. The potentiality assessment done in 2013 was presented at good level. In addition, total of 69 members were studied by using the instruments consisting focus group, in-depth interview, interviewed by using structural interviewed questionnaire, and observation. The data analysis was conducted by applying frequency, percentage, minimum value, maximum value, mean, and standard deviation. The finding of the research results indicated that 1) Almost all of the members were female with 56.14 years of average age, had lived in Nakhon Ratchasima Province, and finished elementary education; the main occupation was farmer with sub-ordinates occupation was Korat rice noodle production, 2,038 baht of monthly income from the rice noodle activity; and 19.95 years of average experience in producing Korat rice noodle. 2) The knowledge of local wisdom described that the local wisdom could be classified into two types including knowledge from original local wisdom and new knowledge in extension of original local wisdom in consistency with the change of social context; two types of local wisdom application including development of equipment usage in production and development of product form. 3) Knowledge management process consisted of six significant major steps including (1) knowledge identification described that most of knowledge identification was from the requirement to inherit local wisdom which had been existed from the ancestors; the identified knowledge was the knowledge needed for usage in Korat rice noodle production; (2) knowledge acquisition included knowledge acquisition to be applied for production and improvement of product, both inside and outside the group with main emphasis on internal knowledge acquisition; (3) knowledge sharing included informal knowledge sharing through activity; (4) tacit knowledge storage by using memorizing method; (5) knowledge transfer included the interpersonal transfer and most of knowledge transfers had been given to the household descendants with verbal narration method; and (6) knowledge application was in the type of development of more various product forms. 4) The beneficial conditions for success of knowledge management consisted of four significant major conditions including (1) organizational culture which was family culture; (2) leadership with intellectual stimulation; 3) the important basic structures, such as supporting from government agency and inter-group coordination; and 4) information technology such as mobile phone and camera. | en_US |
Appears in Collections: | Agri-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
146809.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 19.63 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License