Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/3192
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | จำเนียร ราชแพทยาคม | th_TH |
dc.contributor.author | วิษณุรักษ์ คล่องสั่งสอน, 2511- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-02-14T03:20:21Z | - |
dc.date.available | 2023-02-14T03:20:21Z | - |
dc.date.issued | 2562 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/3192 | en_US |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (บธ.ม. (บริหารรัฐกิจ))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2562 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาระดับผลสัมฤทธิ์ในการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยา เสพติดในระบบบังคับบำบัดในจังหวัดขอนแก่น (2) ศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อผลสำเร็จในการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดในระบบบังคับบำบัดในจังหวัดขอนแก่น (3) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ในการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดในระบบบังคับบำบัดในจังหวัดขอนแก่นของศูนย์บำบัดยาเสพติดแบบควบคุมตัวกับแบบไม่ควบคุมตัว และ (4) เสนอแนะแนวทางการพัฒนาโปรแกรมฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดในระบบบังคับบำบัดในจังหวัดขอนแก่น การวิจัยนี้เป็นการวิจัยแบบผสมวิธี ประชากร คือ ผู้เข้ารับการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดและผู้ที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับการดูแลผู้เข้ารับการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด รวมทั้งสิ้น 3,500 คน ขนาดของกลุ่มตัวอย่างแบ่งตามกลุ่มหรือพื้นที่ ได้จำนวนตัวอย่าง 300 คน เครื่องมือที่ใช้ในวิจัย คือ แบบสอบถาม แบบสัมภาษณ์เชิงลึก และแบบสนทนากลุ่ม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์ค่าเอฟ และการวิเคราะห์ถดถอย เชิงพหุ ส่วนการวิเคราะห์เชิงคุณภาพใช้การวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า (1) ระดับผลสัมฤทธิ์ของการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดในระบบบังคับบำบัดในจังหวัดขอนแก่นส่วนใหญ่อยู่ในระดับมาก (2) ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อผลสัมฤทธิ์ในการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดในระบบบังคับบำบัดในจังหวัดขอนแก่น คือ รูปแบบโปรแกรมที่ให้คำปรึกษา การดูแลใกล้ชิด การมีครอบครัวช่วยดูแลให้กำลังใจ รวมถึงการส่งเสริมการฝึกอาชีพในระหว่างการฟื้นฟูฯ (3) การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์พบว่า การฟื้นฟูแบบควบคุมตัวมีโอกาสกลับไปเสพซ้ำน้อยกว่าแบบไม่ควบคุมตัว และ (4) แนวทางการพัฒนาโปรแกรมฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดในระบบบังคับบำบัดในจังหวัดขอนแก่น คือ ควรนำวิธีการบำบัดที่มีความโดดเด่นมาปรับใช้ในรูปแบบของขอนแก่นโมเดล เช่น ด้านการฝึกอาชีพของศูนย์วิวัฒน์พลเมือง การให้คำปรึกษารายเดี่ยวของโรงพยาบาลธัญญารักษ์ขอนแก่น โปรแกรมค่ายเชิงจิต และโปรแกรมครอบครัวของสำนักงานคุมประพฤติ เป็นต้น | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | คนติดยาเสพติด--การฟื้นฟูสมรรถภาพ | th_TH |
dc.title | ผลสัมฤทธิ์ในการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดในระบบบังคับบำบัด ในจังหวัดขอนแก่น | th_TH |
dc.title.alternative | Achievement of compulsory rehabilitation of drug addicts in KhonKaen Province | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | This research aimed (1) to study achievement level of compulsory rehabilitation of drug addicts in Khonkaen Province (2) to study factors affecting the achievement of compulsory rehabilitation of drug addicts in Khonkaen Province (3) to compare the achievement of compulsory rehabilitation of drug addicts in Khonkaen Province between necessary to detain in restriction program drug patients and unnecessary to detain in restriction program drug patients, and (4) to recommend developing guidelines for compulsory rehabilitation of drug addicts in Khonkaen Province. This research was a mixed method. The population was drug patients who underwent the rehabilitation programme and relevant rehabilitation officials totally 3,500 officials. Sample size was classified by area approach and obtained 300 samples. Research instruments were questionnaire, in-depth interview form and focus group interview form. The statistics for data analysis of quantitative research employed frequency, percentage, mean, standard deviation, F-test and multiple regression. For qualitative research used content analysis. The findings were as follows: (1) an overview of achievement level of compulsory rehabilitation of drug addicts in Khonkaen Province was at high level (2) factors affecting the achievement of compulsory rehabilitation of drug addicts in Khonkaen Province were rehabilitation model which gave counseling and closely took care, provided family help and vocational training during rehabilitation programme (3) the comparison of the achievement of compulsory rehabilitation showed that the relapse rate of necessary to detain in restriction program drug patients was less than unnecessary to detain in restriction program drug patients, and (4) recommendations for developing guidelines for compulsory rehabilitation of drug addicts in Khonkaen Province were that there should adjust the successful rehabilitation to be used as Khonkaen model such as the promotion of vocational training of Military Circles Drug Dependence Treatment School, single counseling of Thanyarak Khonkaen Hospital, the providing of mental camp and family program of the Department of Probation. | en_US |
dc.contributor.coadvisor | นพดล อุดมวิศวกุล | th_TH |
Appears in Collections: | Manage-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
FULLTEXT.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 36.41 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License