Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/3199
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเทพศักดิ์ บุณยรัตพันธุ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorพนมพัทธ์ สมิตานนท์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorภควรรณ ไชยป๋าน, 2520--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-02-14T05:08:39Z-
dc.date.available2023-02-14T05:08:39Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/3199-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (บธ.ม.(บริหารรัฐกิจ))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2562th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาระดับคุณภาพชีวิตประชาชนในชุมชนบนพื้นที่สูงของโครงการหลวงจังหวัดเชียงใหม่ (2) ศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อคุณภาพชีวิตประชาชนในชุมชนบนพื้นที่สูงของโครงการหลวงจังหวัดเชียงใหม่ และ (3) เสนอแนะแนวทางในการพัฒนาคุณภาพชีวิตประชาชนในชุมชนบนพื้นที่สูงของโครงการหลวงจังหวัดเชียงใหม่ การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจแบบผสมวิธี ประชากรสำหรับการวิจัยเชิงปริมาณ คือ ประชาชนที่อาศัยอยู่เขตในชุมชนบนพื้นที่สูงในโครงการหลวงจังหวัดเชียงใหม่ และเกี่ยวข้องกับการนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงนำไปประยุกต์ใช้ร่วมกับการพัฒนาคุณภาพชีวิตในโครงการหลวงจำนวน 27 แห่ง 15 อำเภอ มีจำนวน 117,693 คน กลุ่มตัวอย่างจำนวน 399 คน ได้จากการคำนวณโดยใช้สูตรของทาโรยามาเน่ และใช้การสุ่มตัวอย่างแบบชั้นภูมิ ส่วนผู้ให้ข้อมูลสำคัญสำหรับการสัมภาษณ์เชิงลึก คือ ประธานโครงการหลวงแม่ริม และเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องในโครงการหลวง จำนวน 5 คน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถาม และแบบสัมภาษณ์ การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ คือ การแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที ค่าเอฟ การวิเคราะห์ถดถอยเชิงพหุ ส่วนการวิเคราะห์ตรวจสอบข้อมูลเชิงคุณภาพใช้เทคนิค SWOT เพื่อวิเคราะห์ข้อมูลแบบอุปนัย ผลการศึกษาพบว่า (1) ระดับคุณภาพชีวิตประชาชนในชุมชนบนพื้นที่สูงของโครงการหลวงจังหวัดเชียงใหม่ อยู่ในระดับมาก และไม่ตํ่ากว่าร้อยละ 80 (2) ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อคุณภาพชีวิตประชาชนในชุมชนบนพื้นที่สูงของโครงการหลวงจังหวัดเชียงใหม่ ได้แก่ ปัจจัยหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และปัจจัยจูงใจ และ (3) ข้อเสนอแนะที่สำคัญต่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตประชาชนในชุมชนบนพื้นที่สูงของโครงการหลวงจังหวัดเชียงใหม่ คือ ประชาชนควรสร้างความร่วมมือกับเครือข่ายความช่วยเหลือ จากสถาบัน หน่วยงานต่าง ๆ และเชื่อมโยงประชาชนในชุมชนเพื่อเรียนรู้องค์ความรู้จากศูนย์หรือโครงการต่าง ๆ ของโครงการหลวงโดยการผสมผสานภูมิปัญญาท้องถิ่นของชุมชนที่มีเอกลักษณ์เฉพาะของชุมชนเข้าไว้ด้วยกัน และควรบูรณาการความรู้และเทคโนโลยีใหม่ไปปรับใช้ให้เหมาะสมกับสภาพของชุมชนบนพื้นที่สูงในแต่ละแห่งโดยคำนึงถึงหลักของวิถีชีวิตดั้งเดิมของประชาชนในชุมชนบนพื้นที่สูง รวมถึงการนำงานวิจัยและพัฒนาจากโครงการหลวงมาประยุกต์ใช้ในชุมชนบนพื้นที่สูง ให้ความรู้เกี่ยวกับการปฏิบัติตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ให้ชุมชนได้มีความเข้าใจและมีส่วนร่วมในการพัฒนา และสร้างรายได้ให้ตนเองth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectคุณภาพชีวิต--ไทย--เชียงใหม่th_TH
dc.titleปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อคุณภาพชีวิตประชาชนในชุมชนบนพื้นที่สูงของโครงการหลวง จังหวัดเชียงใหม่th_TH
dc.title.alternativeFactors influencing the quality of life of people in highland communities of the Royal Project, Chiang Mai Provinceth_TH
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this study were (1) to study quality of life level of people in highland communities of the Royal Project in Chiang Mai province. (2) to study the factors influencing the quality of life of people in the highland communities of the Royal Project in Chiang Mai Province, and (3) to recommend ways to develop the quality of life of people in highland communities of the Royal Project in Chiang Mai Province. This research was mixed method research.The population for quantitative research was 117,693 residents who are living in highland communities of the Royal Project in Chiang Mai Province and involving with the application of the sufficiency economy philosophy together and the development of the quality of life at 27 sites of the Royal Project in 15 districts in Chiang Mai Province. Samples were 399 people calculated by using Taro Yamane formula and using stratified random sampling. The key informant for in-depth interviewing was the Chair of the Royal Project at Mae Rim and 5 concerned officials. Research tools were a questionnaire and an interview form. Quantitative data analysis employed frequency, percentage, mean, standard deviation, T-test, F-test, multiple regression. For qualitative data analysis employed SWOT technique and inductive content summary. The findings revealed that (1) quality of life level of people in highland communities of the Royal Project in Chiang Mai province was at high level and over 80 percent (2) Factors influencing quality of life of people in highland communities of the Royal Project in Chiang Mai Province were the main factors of sufficient economy philosophy and incentive factor, and (3) the important recommendations to develop quality of life of people in highland communities of the Royal Project in Chiang Mai Province included of people should collaborate with helping networks from various institutes or sectors and coordinated between the people in the communities to learn from centers or the Royal Projects and integrated together with local wisdom of their own unique, adapted knowledge and modern technology to be appropriate to individual community, applied and distributed the knowledge under the sufficiency economy philosophy to the people to understand and participate in the development and increase more incomeen_US
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT.pdfเอกสารฉบับเต็ม29.02 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons