Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/3209
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธนศักดิ์ สายจำปาth_TH
dc.contributor.authorเอกลักษณ์ สายด้วง, 2525-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-02-14T06:34:17Z-
dc.date.available2023-02-14T06:34:17Z-
dc.date.issued2563-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/3209en_US
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ร.ม.(การเมืองการปกครอง))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2563th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อคึกษา (1) ปัญหา อุปสรรค และความขัดแย้งอันเกิดจากโครงการก่อสร้างอ่างเก็บนาคลองสีสุก อำเภอพนม จังหวัดสุราษฎร์ธานี (2) รูปแบบการจัดการความขัดแย้งโครงการก่อสร้างอ่างเก็บนาคลองสีสุก อำเภอพนม จังหวัดสุราษฎร์ธานี และ (3) เสนอแนะแนวทางในการจัดการความขัดแย้งโครงการก่อสร้างอ่างเก็บนํ้าคลองสีสุก อำเภอพนม จังหวัดสุราษฎร์ธานี การวิจัยครั้งนึ้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยการใช้ข้อมูลจากเอกสารและสัมภาษณ์ผู้ให้ข้อมูลสำคัญ ได้แก่ นายอำเภอพนม กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน และประชาชนในพื่นที่ที่ได้รบผลกระทบจากการดำเนินโครงการก่อสร้างอ่างเก็บน้ำคลองสีสุก อำเภอพนม จังหวัดสุราษฎร์ธานี รวมทั้งสิ้น 35 คน ผลการวิจัยพบว่า (1) ปัญหา อุปสรรค และความขัคแย้งอันเกิดจากโครงการก่อสร้างอ่างเก็บนํ้าคลองสีสุก อำเภอพนม จังหวัดสุราษฎร์ธานี ได้แก่ ความขัดแย้งด้านข้อมูล ความขัดแย้งด้านผลประโยชน์ ความขัดแย้งด้านความสัมพันธ์ ความขัดแย้งด้านโครงสร้างอำนาจ และความขัดแย้งด้านค่านิยม (2) รูปแบบการจัดการความขัดแย้งโครงการก่อสร้างอ่างเก็บนํ้าคลองสีสุก อำเภอพนม จังหวัดสุราษฎร์ธานี ใช้หลักการมีส่วนร่วมของชาวบ้านในพื้นที่ กลไกอำนาจหน้าที่ของฝ่ายปกครองท้องที่ การดำเนินโครงการตามแนวทางโครงการอันเพื่องมาจากพระราชดำริ ภาวะผู้นำของฝ่ายปกครองในพื้นที่ และการใช้หลักธรรมาภิบาล และ (3) แนวทางในการจัดการความขัดแย้งในพื้นที่คือต้องปรับแนวทางในการดำเนินโครงการเพื่อให้ชาวบ้านก็ยังคงดำเนินชีวิตอยู่ได้ และได้รับผลกระทบน้อยที่สุดth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชารัฐศาสตร์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกการเมืองการปกครอง--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectโครงการก่อสร้างอ่างเก็บน้ำคลองสีสุกth_TH
dc.subjectการบริหารความขัดแย้ง--ไทย--สุราษฎร์ธานีth_TH
dc.titleการจัดการความขัดแย้งโครงการก่อสร้างอ่างเก็บน้ำคลองสีสุก อำเภอพนม จังหวัดสุราษฎร์ธานีth_TH
dc.title.alternativeConflict management of the Klongsisook reservoir construction project in Phanom District, Surat Thani Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameรัฐศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชารัฐศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research are: (1) to study the problems, obstacles, and conflicts arising from the Klongsisook reservoir construction project in Phanom District, Surat Thani province; (2) to study the conflict management pattern of the Klongsisook reservoir construction project in Phanom District, Surat Thani province; and (3) to study the recommendations for conflict management guidelines of the Klongsisook reservoir construction project in Phanom District, Surat Thani province. This study was qualitative using information from the document and interviewed the key informant, as follows: Phanom District Chief, Subdistrict Headman, Village Headman, Assistant Village Headman and inhabitants in the area who affected by the implementation of the Klongsisook reservoir construction project in Phanom District, Surat Thani province. A total of 35 people. The findings are: (1) the problems, obstacles, and conflict arising from the Klongsisook reservoir construction project in Phanom District, Surat Thani province were the conflicts of information, conflicts of benefit, conflicts of relationship, conflicts of structure, and conflicts of values. (2) The approach of Conflict management for the Klongsisook reservoir construction project in Phanom District, Surat Thani province uses the participation of villagers in the area, the authority mechanism of the district administrative, implementation of the project according to the Royal Initiative project guidelines, the leadership of the administrative in area, and use of good governance. (3) It is recommended that the guidelines for conflict management in the area were to adjust the way of project implementation so the villagers can still live with minimal impacten_US
dc.contributor.coadvisorขจรศักดิ์ สิทธิth_TH
Appears in Collections:Pol-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT.pdfเอกสารฉบับเต็ม20.84 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons