Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/3219
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ทวีศักดิ์ จินดานุรักษ์ | th_TH |
dc.contributor.author | ณรงค์ สังวาระนที, 2524- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-02-14T08:31:13Z | - |
dc.date.available | 2023-02-14T08:31:13Z | - |
dc.date.issued | 2563 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/3219 | en_US |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม.(วิทยาศาสตร์ศึกษา))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2563 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาฟิสิกส์ เรื่อง กฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน ระหว่างนักเรียนที่เรียนด้วยเทคโนโลยีแบบปัญญาประดิษฐ์ร่วมกับการเรียนรู้แบบร่วมมือด้วยเทคนิค STAD กับนักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบปกติ (2) เปรียบเทียบเจตคติต่อวิชาฟิสิกส์ของนักเรียนทั้งสองกลุ่มดังกล่าว (3) เปรียบเทียบเจตคติต่อเทคโนโลยีของนักเรียนทั้งสองกลุ่มดังกล่าว กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยนี้ คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา จำนวน 2 ห้อง รวมเป็นนักเรียน 59 คน ได้มาจากการสุ่มแบบกลุ่มและแบ่งเป็น กลุ่มทดลอง 30 คน และกลุ่มควบคุม 29 คน กลุ่มทดลองได้รับการจัดการเรียนรู้ด้วยเทคโนโลยีแบบปัญญาประดิษฐ์ร่วมกับการเรียนรู้แบบร่วมมือด้วยเทคนิค STAD ส่วนกลุ่มควบคุมได้รับการจัดการเรียนรู้แบบปกติ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ (1) แผนการจัดการเรียนรู้ด้วยเทคโนโลยีแบบปัญญาประดิษฐ์ร่วมกับการเรียนรู้แบบร่วมมือด้วยเทคนิค STAD (2) แผนการจัดการเรียนรู้แบบปกติ (3) แบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาฟิสิกส์ เรื่องกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน (4) แบบวัดเจตคติต่อวิชาฟิสิกส์ และ (5) แบบวัดเจตคติต่อเทคโนโลยี สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการวิจัยพบว่า (1) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาฟิสิกส์ของกลุ่มทดลองสูงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (2) เจตคติต่อวิชาฟิสิกส์ของกลุ่มทดลองสูงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ (3) เจตคติต่อเทคโนโลยีของกลุ่มทดลองสูงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกวิทยาศาสตร์ศึกษา--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | ฟิสิกส์--การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา) | th_TH |
dc.subject | เทคโนโลยี--การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา) | th_TH |
dc.title | ผลการใช้เทคโนโลยีแบบปัญญาประดิษฐ์ร่วมกับการเรียนรู้แบบร่วมมือด้วยเทคนิค STAD ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เจตคติต่อวิชาฟิสิกส์และเจตคติต่อเทคโนโลยีของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา | th_TH |
dc.title.alternative | The effects of using artificial intelligence technology with STAD technique of cooperative learning method on learning achievement, attitude towards physics and attitude towards technology of Mathayom Suksa IV students at Demonstration school of Suan Sunandha Rajabhat University | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this research were (1) to compare the academic achievement in physics in the topic of Newton's laws of motion of students who learned through artificial intelligence technology with STAD technique of cooperative learning method and that of students who learned through conventional learning method; (2) to compare attitudes towards physics of the two groups of students; and (3) to compare attitudes towards technology of the two groups of students. The samples of the study were 59 students from 2 class rooms in Mathayom Suksa IV at Demonstration School of Suan Sunandha Rajabhat University. The sample were randomly selected by using cluster random sampling method. They were divided into an experimental group n = 30 and a control group n = 29. The experimental group was taught by using artificial intelligence technology with STAD technique of cooperative learning method whereas the control group was taught by using the conventional learning method. The research instruments were (1) artificial intelligence technology with STAD technique of cooperative learning method instructional plans; (2) conventional learning method instructional plans; (3) a learning achievement test; (4) an attitude towards physics questionnaire; and (5) an attitude towards technology questionnaire. The statistics used for data analysis were the mean, standard deviation, and t-test. The results revealed that (1) students’ learning achievement of the experimental group was significantly higher than that of the control group at the .05 level of statistical significance ; (2) the attitudes towards physics of the experimental group was significantly higher than that of the control group at the .05 level of statistical significance; and (3) the attitudes towards technology of the experimental group was significantly higher than that of the control group at the .05 level of statistical significance | en_US |
dc.contributor.coadvisor | ชำนาญ เชาวกีรติพงศ์ | th_TH |
Appears in Collections: | Edu-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
FULLTEXT.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 12.2 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License