Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/332
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสมใจ พุทธาพิทักษ์ผล, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorดวงใจ เปลี่ยนบำรุง, อาจารย์ที่ปรึกษา.th_TH
dc.contributor.authorไซนับ ศุภศิริ, 2515--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-09T02:14:10Z-
dc.date.available2022-08-09T02:14:10Z-
dc.date.issued2557-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/332-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม. (การบริหารการพยาบาล))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2557th_TH
dc.description.abstractการวิจัยแบบกึ่งทดลองนี้ มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาผลของรูปแบบบริการผู้ป่วยโรคเบาหวาน แผนกผู้ป่วยนอก ต่อระยะเวลารอคอยและความพึงพอใจในบริการ กลุ่มตัวอย่าง คือผู้ป่วยโรคเบาหวานที่มารับบริการ ณ แผนกผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลมายอ จังหวัดปัตตานี จำนวน 462 คน แบ่งเป็นกลุ่มทดลอง 254 คน และกลุ่มเปรียบเทียบ 208 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย รูปแบบบริการผู้ป่วยโรคเบาหวาน แผนกผู้ป่วยนอก ที่ผู้วิจัยพัฒนาขึ้นจากทฤษฎีแถวคอย และการมีส่วนร่วมของทีมสหวิชาชีพ แบบบันทึกระยะเวลารอคอย นาฬิกาจับเวลา และแบบสอบถามความพึงพอใจของผู้ป่วย ตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาของเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย โดยผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 5 ท่าน แบบสอบถามความพึงพอใจของผู้ใช้บริการ มีค่าความเที่ยงเท่ากับ 0.83 วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนา และสถิติแมนวิทนีย์ยู ผลการวิจัยพบว่า 1. ระยะเวลารอคอยของผู้ป่วยโรคเบาหวาน ในกลุ่มทดลองต่ำกว่าผู้ป่วยในกลุ่มเปรียบเทียบ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 2. ความพึงพอใจของผู้ป่วยโรคเบาหวาน ในกลุ่มทดลองสูงกว่าผู้ป่วยในกลุ่มเปรียบเทียบ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ผลของการวิจัยครั้งนี้แสดงให้เห็นว่ารูปแบบบริการสำหรับผู้ป่วยโรคเบาหวานที่ประยุกต์จาก ทฤษฎีแถวคอย สามารถลดระยะเวลารอคอยและเพิ่มความพึงพอใจในบริการผู้ป่วยนอกได้เป็นอย่างดีth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2014.218en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการบริหารการพยาบาล --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectเบาหวาน--ผู้ป่วย--บริการที่ได้รับth_TH
dc.subjectโรงพยาบาล--ความพอใจของผู้ใช้บริการth_TH
dc.titleผลของรูปแบบบริการผู้ป่วยโรคเบาหวานแผนกผู้ป่วยนอกโรงพยาบาลมายอ จังหวัดปัตตานี ต่อระยะเวลารอคอยและความพึงพอใจในบริการth_TH
dc.title.alternativeThe effects of a service model on waiting time and patients' satisfaction at the diabetic Outpatient Department, Mayo Hospitath_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2014.218en_US
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาพยาบาลศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis quazi-experimental research aimed to study effects of a service model for the Diabetic patients at the Out-patient Department on waiting time and patients’ satisfaction at Mayo Hospital Pattani Province. The sample included 462 diabetic patients at the Out-patient Department, and they were divided into two groups: an experimental group (254) and a control group (208). The instruments developed by the researcher comprised a service model for diabetic patients at the Out-patient Department based on Queuing theory with participating from a multidisciplinary team, the record form of waiting time, stopwatches and the patients’ satisfaction questionnaire. Content validity of all instruments were examined by five experts. The reliability of the patients’ satisfaction questionnaire was 0.83. Data were analyzed by descriptive statistics and Mann-Whitney U test. The results showed as follows. 1. The Waiting time of diabetic patients in the experimental group was significantly lower than those in the control group (p < 0.05). 2. Patients’ satisfaction in the experimental group was significantly higher than those in the control group (p < 0.05). The results of this study show that the service model based on Queuing theory can decrease waiting time and increase clients’ satisfaction in the Out-patient Departmenten_US
Appears in Collections:Nurse-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext.pdfเอกสารฉบับเต็ม10.46 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons