Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/3338
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพิศาล มุกดารัศมี, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorศิร์ปัณณ์ ศรประดิษฐ์, 2535--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชารัฐศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-02-16T06:18:40Z-
dc.date.available2023-02-16T06:18:40Z-
dc.date.issued2563-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/3338-
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ (1) เพื่อศึกษาบทบาทของสมาชิกองค์กรพัฒนาเอกชนและภาคประชาชนต่อการสร้างโครงการท่าเรือน้ำลึกในพื้นที่จังหวัดสตูล ภายใต้การใช้สิทธิและเสรีภาพตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 และรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 (2) เพื่อศึกษาปัญหาและอุปสรรคของสมาชิกองค์กรพัฒนาเอกชนและภาคประชาชนต่อการสร้างโครงการท่าเรือน้ำลึกในพื้นที่จังหวัดสตูล ภายใต้การใช้สิทธิและเสรีภาพตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 และ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 (3) เพื่อเสนอแนะแนวทางแก้ไขปัญหาของสมาชิกองค์กรพัฒนาเอกชนและภาคประชาชนต่อการสร้างโครงการท่าเรือน้ำลึกในพื้นที่จังหวัดสตูล ภายใต้การใช้สิทธิและเสรีภาพตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 และ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 งานวิจัยนี้เป็นงานวิจัยเชิงคุณภาพโดยใช้แนวคิดเกี่ยวกับการศึกษาบทบาทของสมาชิกองค์กรพัฒนาเอกชนและภาคประชาชนต่อการสร้างโครงการท่าเรือน้ำลึกในพื้นที่จังหวัดสตูล ภายใต้การใช้สิทธิและเสรีภาพตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ผ่านทาง บทบาท ปัญญาและอุปสรรค รวมถึงวิธีการแก้ไขปัญหา ระหว่างสมาชิกองค์กรพัฒนาเอกชนและภาคประชาชนต่อการสร้างโครงการท่าเรือน้ำลึกในพื้นที่จังหวัดสตูล ที่นำไปสู่การเคลื่อนไหวภาคประชาชนเป็นกรอบแนวคิดของการวิจัย รูปแบบการวิจัยเป็นการวิจัยเอกสาร ตำรา การลงพื้นที่สัมภาษณ์บุคคลที่เกี่ยวข้อง ผลการวิจัยพบว่า (1) บทบาทหน้าที่ส่วนใหญ่สอดคล้องกับรัฐธรรมนูญ 2540 ที่ให้ความสำคัญของบทบาทเกี่ยวกับสิทธิและเสรีภาพของประชาชนอย่างเต็มที่ คือ การมุ่งเน้นการให้ความสำคัญของการใช้สิทธิและเสรีภาพโดยต้องคำนึงถึงความถูกต้อง ไม่ได้มีเป้าหมายด้านอื่นแอบแฝง หรือเป็นเครื่องมือของกลุ่มผลประโยชน์ เมื่อการเคลื่อนไหวเรียกร้องได้อยู่บนพื้นฐานความถูกต้องหรือแนวทางที่ถูกต้องบนแนวความคิด (2) ปัญหาและอุปสรรคที่เกิดขึ้น เมื่อเปรียบเทียบกับรัฐธรรมนูญ พุทธศักราช 2560 การมีส่วนร่วมภาคประชาชน เกี่ยวกับการใช้สิทธิและเสรีภาพ ซึ่งถูกลดทอนลง เพราะมีการจำกัดสิทธิและเสรีภาพของประชาชนอย่างเห็นได้ชัดเจน ไม่ว่าจะเป็นในรูปแบบการแสดงความคิดเห็น หรือ สิทธิที่จะเรียกร้องในรูปแบบการจัดชุมนุมเพื่อเรียกร้องสิทธิเสรีภาพของตนเอง ล้วนแล้วแต่ต้องพึงกระทำโดยมีรัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันเป็นตัวกำหนด ซึ่งมีความแตกต่างทางสิทธิเสรีภาพ เพราะได้จำกัดสิทธิเสรีภาพของประชาชนซึ่งแตกต่างจากรัฐธรรมนูญ 2540 อย่างเห็นได้ชัดเจน และ (3) แนวทางแก้ไขปัญหาสิทธิและเสรีภาพของประชาชนเป็นกลไกสำคัญที่สามารถชี้วัดต่อความเป็นประชาธิปไตยได้เป็นอย่างดี จึงควรมีความรับฟังความคิดเห็นของประชาชน แต่ในรัฐธรรมนูญ 2560 ให้ความสำคัญกับสิทธิและเสรีภาพของการเมืองภาคประชาชนลดน้อยลง การแสดงความคิดเห็นในรูปแบบประชาชนล้วนแล้วแต่มีข้อจำกัดth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชารัฐศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกการเมืองการปกครอง--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectโครงการท่าเรือน้ำลึกปากบาราth_TH
dc.subjectประวัติรัฐธรรมนูญ--ไทย--สตูลth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--การเมืองการปกครองth_TH
dc.titleเปรียบเทียบการใช้สิทธิและเสรีภาพในการเคลื่อนไหวภาคประชาชนระหว่างรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2540 และ รัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2560 : กรณีศึกษาโครงการท่าเรือน้ำลึกปากบารา จังหวัดสตูลth_TH
dc.title.alternativeComparison of rights and liberties on people's Movement between the Thai constitution of 1997 and 2017 : a case study of the Pak Barthe deep sea port project in Satun Provinceth_TH
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameรัฐศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชารัฐศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were (1) to study the roles of non-governmental organizations (NGO) members and public sector on construction of the deep sea port project in Satun Province under the lights and liberties of the Constitution of the Kingdom of Thailand 1997 and 2017, (2) to investigate the problems and obstacles of NGO members and public sector on construction of the deep sea port project in Satun Province under the rights and liberties of the Constitution of the Kingdom of Thailand 1997 and 2017 and (3), to suggest solutions for NGO members and public sector on construction of the deep sea port project in Satun Province under the rights and liberties of the Constitution of the Kingdom of Thailand 1997 and 2017. This was a qualitative research using a concept of studying the roles of NGO members and public sector on construction of the deep sea port project in Satun Province under the rights and liberties of the Constitution of the Kingdom of Thailand through roles, wisdom and obstacles, hl addition, solution of NGO members and public sector on construction of the deep sea port project in Sanin Province leading to the people’s movement was a conceptual framework of research. The literature review, field visits and interviews with related persons were applied in this research. This research found that (1) most of the roles corresponded with the Constitution of the Kingdom of Thailand 1997. which hilly emphasizes the role related to rights and liberties. When the people’s movement was based on correctness or collect approach, the rights and liberties should be emphasized with due consideration to their validity and without any hidden objectives. (2) The problems and obstacles of NGO members and public sector were followed. The public participation related to rights and liberties under the Thai Constitution of 2017 reduced because the people's rights and liberties were clearly restricted. For example, patterns of expressing their opinions and rights to claim on political demonstration for then rights and freedoms. It all had to do under the current constitution which has differences in rights and liberties. (3) The solution of people's rights and liberties was an important mechanism that could be measured against democracy. Therefore, a public hearing should be implemented. However, the Thai Constitution of 2017 reduced the important of rights and liberties, and patterns of expressing their' opinions were all limiteden_US
Appears in Collections:Pol-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT.pdfเอกสารฉบับเต็ม14.55 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons