กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/3343
ชื่อเรื่อง: | ชุดการสอนแบบอิงประสบการณ์สาระเทคโนโลยีสารสนเทศ วิชาการพิมพ์เอกสารเรื่องการสร้างภาพและตกแต่งภาพปกนิทานโดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนชลประทานวิทยา จังหวัดนนทบุรี |
ชื่อเรื่องอื่นๆ: | Experience-base instructional packages in document printing information technology substance on creating and decorating pictures on the covers of fairy tales books with computer program for Prathom Suksa IV students in Chonprathan Witthaya School in Nonthaburi Province |
ผู้แต่ง/ผู้ร่วมงาน: | วาสนา ทวีกุลทรัพย์ สุดใจ ศุภเอม, 2513- มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ |
คำสำคัญ: | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณี มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา--การศึกษาเฉพาะกรณี การเรียนรู้แบบประสบการณ์ เทคโนโลยีสารสนเทศ--การศึกษาและการสอน (ประถมศึกษา)--ไทย--นนทบุรี |
วันที่เผยแพร่: | 2551 |
สำนักพิมพ์: | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช |
บทคัดย่อ: | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1)พัฒนาชุดการสอนแบบอิงประสบการณ์ สาระเทคโนโลยีสารสนเทศ เรื่อง การสร้างภาพและตกแต่งภาพปกนิทานโดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปืที่ 4โรงเรียนชลประทานวิทยา จังหวัดนนทบุรี ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ที่กำหนด 80/80(2)ศึกษาความก้าวหน้าทางการเรียนของนักเรียนที่เรียนด้วยชุดการสอนแบบอิงประสบการณ์ และ (3)ศึกษาความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อชุดการสอนแบบอิงประสบการณ์ กสุ่มตัวอย่างที่ใช้ไนการทดสอบประสิทธิภาพ คือนักเรียนชั้นประถมศึกษาปืที่ 4 โรงเรียนชลประทานวิทยา จำนวน 50 คน ได้มาโดยสุ่มแบบกลุ่ม เครื่องมือที่ใช้ไนการวิจัยประกอบด้วย (1) ชุดการสอนแบบอิงประสบการณ์ จำนวน 1หน่วยประสบการณ์คือ หน่วยประสบการณ์ที่ 9 เรื่อง การสรัางภาพและตกแต่งภาพปกนิทานโดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ (2)แบบทดสอบก่อนและหลังการเผชิญประสบการณ์แบบคู่ขนาน และ (3)แบบสอบถามความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อชุดการสอนแบบอิงประสบการณ์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ การหาค่าประสิทธิภาพโดย E1/E2การทดสอบค่าที ค่าเฉลี่ย และ ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานผลการวิจัยพบว่า (1)ชุดการสอนแบบอิงประสบการณ์ที่ผลิตขึ้นมีประสิทธิภาพ ดังนี้ 80.00/82.43 ตามเกณฑ์ที่กำหนด 80/80(2)นักเรียนที่เรียนด้วยชุดการสอนแบบอิงประสบการณ์มีความก้าวหนัาทางการเรียนเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ (3) นักเรียนมีความคิดเห็นต่อชุดการสอนแบบอิงประสบการณ์ในอยู่ระดับเห็นด้วยมาก |
URI: | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/3343 |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | Edu-Independent study |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
Fulltext_127657.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 10.24 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการนี้ได้รับอนุญาตภายใต้ Creative Commons License